Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21172
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริวัฒนา บัญชรเทวกุล-
dc.contributor.advisorนเรศร์ จันทน์ขาว-
dc.contributor.authorเหมือนฝัน เอี่ยมศิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-07-26T10:03:04Z-
dc.date.available2012-07-26T10:03:04Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21172-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractภายใต้กฎความปลอดภัยในการบินตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 ผู้โดยสารแต่ละคนสามารถนำของเหลวแต่ละชนิดติดตัวขึ้นเครื่องบินได้ไม่เกิน 100 มิลลิลิตร เพื่อป้องกันมิให้ผู้ก่อการร้ายนำวัตถุไวไฟ สารกัดกร่อนและวัตถุระเบิดขึ้นไปในห้องโดยสาร การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะพัฒนาเทคนิคนิวเคลียร์ที่สามารถจำแนกประเภทของของเหลว ซึ่งบรรจุในภาชนะได้โดยไม่ต้องเปิดขวด ได้ทดลองส่งผ่านรังสีแกมมาพลังงานต่างๆ ได้แก่ 22.1, 25.0 และ 88.0 keV จากต้นกำเนิดแคดเมียม-109 รวมทั้ง 59.6 keV จากต้นกำเนิดอะเมริเซียม-241 ผ่านของเหลวประเภทต่างๆ ที่บรรจุในขวดพลาสติก พบว่า สำหรับขวดที่มีขนาด 600 มิลลิลิตร รังสีแกมมาพลังงาน 22.1 keV ทะลุผ่านแอลกอฮอล์ และน้ำมันเชื้อเพลิงได้มากกว่าน้ำประมาณ 4 และ 8 เท่า ตามลำดับ นอกจากนี้ยังได้ทดสอบกับของเหลวประเภทอื่นๆ ด้วย และพบว่าความไวในการจำแนกประเภทต่ำลง เมื่อพลังงานของรังสีแกมมาสูงขึ้น นอกจากนี้ยังได้ทดลองใช้เทคนิคการกระเจิงกลับของรังสีแกมมา และเทคนิคนิวตรอน ซึ่งพบว่าทั้งสองเทคนิคนี้ไม่เหมาะที่จะใช้ในการแยกประเภทของของเหลว เนื่องจากมีความไวต่ำเกินไป ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่ามีความเป็นไปได้ที่จะออกแบบและสร้างอุปกรณ์ต้นแบบ ที่ใช้เทคนิคการส่งผ่านรังสีแกมมาพลังงานต่ำ ในการตรวจแยกประเภทของของเหลวโดยไม่ต้องเปิดขวด เพื่อความปลอดภัยในการบินen
dc.description.abstractalternativeUnder aviation security regulations since 2006, each passenger is allowed to carry liquid on board in container no larger than 100 ml of each item to prevent terrorist from bringing flammable, corrosive and explosive materials into passenger cabin. The objective of this research is to develop a non-intrusive nuclear technique to be used for identifying liquid type in closed container. Transmission of gamma-rays of different energies, including 22.1, 25.0, and 88.0 keV from 109Cd as well as 59.6 keV from 241Am, through liquid contained in plastic bottles was investigated. It was found that, for 600 ml plastic bottle, the transmission factors of 22.1 keV gamma-rays for alcohol and fuel oils were approximately 4 and 8 times respectively comparing to water. Transmission factors of gamma-rays for other liquid types were also determined. It was also found that the sensitivity decreased with increasing of gamma-ray energy. Moreover, scattering of gamma-rays and neutron techniques were also tested for the same purpose. It was found that both techniques were not suitable for use in identifying liquid type due to too low sensitivity. The results indicated possibility in design and construction of a non-intrusive prototype device using low energy gamma-rays transmission technique to be used for identifying liquid type in aviation securityen
dc.format.extent4066435 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1933-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสนามบิน -- มาตรการความปลอดภัยen
dc.subjectวัตถุระเบิด -- การตรวจหาen
dc.subjectการบันทึกภาพด้วยรังสีen
dc.titleการพัฒนาเทคนิคนิวเคลียร์สำหรับจำแนกประเภทของเหลวในภาชนะปิดen
dc.title.alternativeDevelopment of a nuclear technique to identify liquid type in closed containeren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSiriwattana.B@Chula.ac.th-
dc.email.advisorNares.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1933-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Meanfun_ae.pdf3.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.