Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21603
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีน แบรี-
dc.contributor.advisorวัชรี ทรัพย์มี-
dc.contributor.authorศศิธร ลิ้มรัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-08-20T03:15:56Z-
dc.date.available2012-08-20T03:15:56Z-
dc.date.issued2529-
dc.identifier.isbn9745665452-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21603-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักการศึกษาด้านการปรึกษาเชิงจิตวิทยา และผู้ปฏิบัติหน้าที่แนะแนวเกี่ยวกับสมรรถภาพด้านการปรึกษาเชิงจิตวิทยาของครูแนะแนวในโรงเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มตัวอย่างประชากรประกอบด้วย นักการศึกษาด้านการปรึกษาเชิงจิตวิทยาจำนวน 76 คน และผู้ปฏิบัติหน้าที่แนะแนวจำนวน 100 คน รวมทั้งสิ้นจำนวน 176 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2526 ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสำรวจความคิดเห็นแบบมาตรประมาณค่า 6 ระดับ เกี่ยวกับสมรรถภาพด้านการปรึกษาเชิงจิตวิทยาของครูแนะแนวที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยอาศัยแนวทางจากการศึกษาองค์ประกอบของสมรรถภาพที่ใช้วัดสมรรถภาพในการปฏิบัติงานของนักจิตวิทยาการปรึกษาของสมาคมการปรึกษาและการพัฒนาแห่งสหรัฐอเมริกา (AACD) เป็นหลัก แบบสำรวจประกอบด้วย 25 สมรรถภาพ 163 ข้อรายการซึ่งแบ่งเป็น 4 หมวด ดังนี้คือ 1) การปรึกษาเป็นรายบุคคล 2) การปรึกษาในโรงเรียน 3) การปรึกษาสำหรับครอบครัว 4) การปรึกษาเป็นกลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบระดับความมีนัยสำคัญโดยใช้การทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างประชากรทั้งสองเห็นว่า ครูแนะแนวในโรงเรียนมัธยมศึกษาของไทยจำเป็นที่จะต้องมีความสามารถในองค์ประกอบของสมรรถภาพในแต่ละด้าน โดยมีระดับความจำเป็นต่างๆตั้งแต่จำเป็นจนถึงจำเป็นมากที่สุด ซึ่งแสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างประชากรทั้งสองเห็นด้วยกับหลักเกณฑ์เกี่ยวกับองค์ประกอบของสมรรถภาพด้วยการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ที่สมาคมการปรึกษาและพัฒนาแห่งสหรัฐอเมริกากำหนดไว้ทุกข้อรายการ 2) เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นระหว่างกลุ่มตัวอย่างประชากรพบว่า ทั้งสองกลุ่มมีความคิดเห็นสอดคล้องกันเป็นส่วนใหญ่
dc.description.abstractalternativeThe main purpose of this research was to investigate and compare the opinions of counselor educators and school counselors concerning secondary school counselor counseling competencies. The population surveyed for this study included 176 persons : 76 counselor educators and 100 school counselors. These persons were contacted during the first semester of the academic year 1983. The data collection instrument was a 6 point rating scale questionnaire, constructed by the researcher on the basis of a list of counseling competencies developed by the American Association for Counseling and Development (AACD). This questionnaire was devided into 25 competency categories, with a total of 163 items covering the following four areas : 1) individual counseling ; 2) school counseling ; school counseling ; 3) family counseling ; 4) group counseling. The data were then statistically analysed by computing percentage, arithmetic means, standard deviations, and t-tests. The research findings showed that 1) both counselor educators and school counselors rated the necessity of all the school counselor counseling competencies listed in the questionnaire at various levels from average to very high. Such results indicated that the opinions of the population surveyed concurred with the AACD list of competencies and therefore showed that such a list was appropriate in determining Thai secondary school counselor competencies ; 2) on most items, there was no significant difference at the .01 level between the opinions of the counselor educators, and those of the school counselors.
dc.format.extent501551 bytes-
dc.format.extent1789762 bytes-
dc.format.extent461326 bytes-
dc.format.extent2615454 bytes-
dc.format.extent2530214 bytes-
dc.format.extent416712 bytes-
dc.format.extent1654329 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectครูแนะแนว
dc.subjectการแนะแนว
dc.subjectครูแนะแนว
dc.subjectการแนะแนว
dc.titleความคิดเห็นของนักการศึกษาด้านการปรึกษาเชิงจิตวิทยา และผู้ปฏิบัติหน้าที่แนะแนวเกี่ยวกับสมรรถภาพ ด้านการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ของครูแนะแนวในโรงเรียนมัธยมศึกษาen
dc.title.alternativeOpinions of counselor educators and school counselors concerning secondary school counselor counseling competenciesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasitorn_Li_front.pdf489.8 kBAdobe PDFView/Open
Sasitorn_Li_ch1.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open
Sasitorn_Li_ch2.pdf450.51 kBAdobe PDFView/Open
Sasitorn_Li_ch3.pdf2.55 MBAdobe PDFView/Open
Sasitorn_Li_ch4.pdf2.47 MBAdobe PDFView/Open
Sasitorn_Li_ch5.pdf406.95 kBAdobe PDFView/Open
Sasitorn_Li_back.pdf1.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.