Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22061
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชญาพิมพ์ อุสาโห-
dc.contributor.advisorพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์-
dc.contributor.authorเกสิณี ชิวปรีชา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-09-10T02:10:40Z-
dc.date.available2012-09-10T02:10:40Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22061-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วมในโรงเรียนดีประจำตำบล 2)เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบล โดยมีขั้นตอนการวิจัย 4 ขั้นตอน คือ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วมในโรงเรียนดีประจำตำบล ใช้กลุ่มตัวอย่าง 123 โรงเรียน โดยใช้แบบสอบถามมาตรประมาณค่า 5 ระดับ หาค่าเฉลี่ย หาความต้องการจำเป็นในการใช้รูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วม (2) ร่างรูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบล (3) ประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบ โดยผู้ทรงคุณวุฒิเป็นรายบุคคล 30 คน และประชุมกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ 15 คน และ (4) ปรับปรุงและนำเสนอรูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงบรรยาย และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยมีดังนี้ (1) สภาพปัจจุบันของการบริหารแบบมีส่วนร่วมในโรงเรียนดีประจำตำบล ในภาพรวม ใช้รูปแบบโดยผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก อยู่ในระดับปานกลาง (X-bar = 2.72) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน การวางแผน อยู่ในระดับมาก (X-bar = 3.95) การนำแผนไปสู่การปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (X-bar = 3.98) ส่วนการประเมินผลอยู่ในระดับปานกลาง (X-bar = 3.20) และสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วมในโรงเรียนดีประจำตำบล ในภาพรวม ใช้รูปแบบโดยผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก อยู่ในระดับมาก (X-bar = 3.75) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน การวางแผน อยู่ในระดับมากที่สุด (X-bar = 4.51) การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก (X-bar = 4.26) ส่วนการประเมินผลโดยครูเป็นหลักอยู่ในระดับมาก (X-bar = 4.45) ความต้องการจำเป็นในการบริหารแบบมีส่วนร่วมโดยครูและชุมชนเป็นหลักเรียงลำดับ ดังนี้ การประเมินผล (PNI = .80) การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ (PNI = .53) และการวางแผน (PNI = .49) (2) รูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบล ควรใช้รูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำโดยครูและชุมชนเป็นหลัก โดยมีหลักการ แนวคิด และวัตถุประสงค์ของรูปแบบ และองค์ประกอบของการบริหาร ประกอบด้วย การวางแผน การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ และการประเมินผลโดยครูและชุมชนเป็นหลักen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to 1) study degree of success and importance for a participative management of outstanding subdistrict school. 2) develop a participative management model for outstanding subdistrict school. It was processed by a research and development approach. Which consisted of 4 steps as follows: (1) study of 123 schools (2) a construction of the model (3) a verification of the model by 30 expert and an evaluation of the model by focus group 15 expert and the final improvement of the model. The research instruments were a questionnaire and an evaluation from. Data were analyzed by content analysis and descriptive statistics. The research results were as follow: 1)The model composed of 4 parts. The 1st part was a participative management model for outstanding subdistrict school is professional and community control. The 2nd part wasthe principle and objective of a participative management model. The 3rd part was an Implementation process which consisted of 4 factors. They were preparation, implementation process, evaluation and report. And the 4th part was conditions of a the participative management model which composed of successful and obstacle factors and there sources of factors (superordinate, subordinate and participants). 2) The developed model was evaluated at a high level by experts and school administrators to be suitable and possible for implementation.en
dc.format.extent3372476 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.677-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรงเรียน -- การบริหารen
dc.subjectการจัดการ -- การมีส่วนร่วมของลูกจ้างen
dc.subjectSchool management and organizationen
dc.subjectManagement -- Employee participationen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบลen
dc.title.alternativeDevelopment of a participative management model for outstanding subdistrict schoolsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChayapim.U@Chula.ac.th-
dc.email.advisorPruet.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.677-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kesinee_ch.pdf3.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.