Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22281
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorครรชิต ผิวนวล
dc.contributor.authorส่ง แสงจันทร์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-10-01T17:34:20Z
dc.date.available2012-10-01T17:34:20Z
dc.date.issued2529
dc.identifier.isbn9745665657
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22281
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractเนื่องจากปัญหาทางด้านการจราจร เป็นปัญหาสำคัญอันหนึ่งที่เมืองใหญ่ๆ ในหลายประเทศกำลังประสพอยู่สำหรับกรุงเทพมหานครก็เป็นเมืองหนึ่งที่ไม่สามารถจะหลีกเลี่ยงปัญหานี้ได้การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การเจริญเติบโตของเมือง และการเพิ่มอย่างรวดเร็วของประชากรในเมือง รวมทั้งจำนวนยวดยานที่เพิ่มขึ้นอย่างไม่มีการควบคุมก่อให้เกิดปัญหาการจราจรหลายระดับ หลายลักษณะด้วยกันโดยเฉพาะปัญหาการจราจรติดขัดในเมืองมักจะเกิดขึ้นต่อเนื่องกัน จากทางแยกหนึ่งไปสู่อีกทางแยกหนึ่งและเชื่อมต่อกันเป็นโครงข่ายจึงเป็นเรื่องที่จำเป็นอย่างยิ่งที่วิศวกรทางด้านการจราจรที่จะต้องเข้าใจคุณลักษณะของการจราจรอันสืบเนื่องมาจากพฤติกรรมของผู้ขับ พฤติกรรมของคนเดินเท้า พฤติกรรมของกลุ่มยวดยาน สภาพทางกายภาพของถนนและการควบคุมการจราจรที่ทางแยก พฤติกรรมเหล่านี้ได้รับการศึกษาและจำลองออกมาเป็นสูตรทางคณิตศาสตร์ ซึ่งอาจจะเป็น Deterministic หรือ Stochastic และทำการวิเคราะห์ในรูปแบบของ Macro Analysis ก็สามารถเข้าใจพฤติกรรมเหล่านี้ติดต่อสัมพันธ์กันเพิ่มขึ้นและจะช่วยแก้ปัญหาต่างๆ ได้ จุดมุ่งหมายของการวิจัยนี้เพื่อให้สามารถปรับปรุงแบบจำลองอธิบายพฤติกรรมของการจราจรแบบ Macro Analysis พร้อมทั้งสร้างแบบจำลองตัวอย่างการไหลของการจราจรเป็นโครงข่ายเพื่อสามารถใช้ทำ Simulation ของพฤติกรรมต่างๆ ต่อเนื่องด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ แบบจำลองที่ปรับปรุงขึ้นเน้นเการวิเคราะห์สภาพการจราจร 4 สภาพ คือการเข้ามาของยวดยานที่ Input Link (Update traffic signal) ผลจากการศึกษาพบว่าแบบจำลองนี้สามารถอธิบายพฤติกรรมการจราจรเพื่อเปรียบเทียบกับสภาพจริงในสนามมีค่าใกล้เคียงกันพอควร แต่ยังต้องมีการศึกษาตัวแปรที่มีผลกระทบต่อแบบจำลองต่อไปในการวิเคราะห์ปรับปรุงแบบจำลองจะต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลทั้งทางสนามและทางทฤษฎีควบคู่กันไป การดำเนินตามวิธีดังกล่าวจะทำให้แบบจำลองนี้มีประสิทธิภาพ และสามารถใช้ได้อย่างเหมาะสมกับสภาพการณ์ได้ดียิ่งขึ้น
dc.description.abstractalternativeTraffic problem is one of the most important problems in many large cities and this is also occurred in Bangkok. The cause of the problems like other cities, arises as city grows larger and population increase at high rate, economically more developed and increasingly high rate of car ownership. One of the general symptom of the problems is traffic congestion. It exists over a wide area from intersection to intersection joinly become congested network. It is urgently needed that engineer must understand characteristics of traffic from driver behavior, pedestrian behavior, platoon behavior, physical facilities and traffic control at intersection. Basic understanding of intersection of the behavior by formulation either deterministic models or stochastic models would help solving the problems. The objective of this research is to formulate mathematical models explaining traffic behavior in Bangkok and to develop basic simulation program using available computer and technology in the country. The model developed is a macroscopic type model concentrated on four traffic behavior ; generation of a new vehicle, inter-link movement, intra-link movement and update traffic signal control. Results from the model showed that the model could explain traffic behavior quite close to the observed behavior on streets. However, some variables need further study. The performance of the model depend on precision and accuracy of input data which need to be checked between observation and theoretical calculation.
dc.format.extent541407 bytes
dc.format.extent391547 bytes
dc.format.extent486098 bytes
dc.format.extent1203217 bytes
dc.format.extent1156113 bytes
dc.format.extent542576 bytes
dc.format.extent304960 bytes
dc.format.extent2200510 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectจราจร -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์
dc.subjectถนน -- การออกแบบ
dc.subjectแบบจำลอง
dc.titleการปรับปรุงแบบจำลองวิเคราะห์การจราจรเป็นโครงข่ายen
dc.title.alternativeThe development of traffic analysis models on street networken
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Song_Sa_front.pdf528.72 kBAdobe PDFView/Open
Song_Sa_ch1.pdf382.37 kBAdobe PDFView/Open
Song_Sa_ch2.pdf474.71 kBAdobe PDFView/Open
Song_Sa_ch3.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open
Song_Sa_ch4.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open
Song_Sa_ch5.pdf529.86 kBAdobe PDFView/Open
Song_Sa_ch6.pdf297.81 kBAdobe PDFView/Open
Song_Sa_back.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.