Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22291
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิลาสวงศ์ พงศะบุตร
dc.contributor.advisorวรุณยุพา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
dc.contributor.authorศุภรัตน์ เลิศพาณิชย์กุล
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-10-02T04:14:29Z
dc.date.available2012-10-02T04:14:29Z
dc.date.issued2524
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22291
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาวิเคราะห์เรื่องราวเกี่ยวกับสมาคมลับอั้งยี่ในประเทศไทยในช่วง พ.ศ. 2367 – 2453 ทั้งนี้เพื่อจะได้ทราบถึงประวัติความเป็นมาของสมาคม บทบาทในด้านต่างๆ นโยบายในการแก้ปัญหาของรัฐบาล และผลกระทบของสมาคมลับอั้งยี่ที่มีต่อการเมืองเศรษฐกิจ และสังคมของไทยในช่วงระยะนั้น วิธีการศึกษาในวิทยานิพนธ์นี้ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ โดยอาศัยข้อมูลจากเอกสารชั้นต้น เอกสารชั้นรอง และใช้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ด้วย ผลจากการวิจัยพบว่า ชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยก่อตั้งสมาคมลับอั้งยี่ขึ้น เพราะมีจุดมุ่งหมายที่จะช่วยเหลือกันและกันทั้งในด้านการปกป้องภัย การประกอบอาชีพ และการสงเคราะห์กันในยามตกทุกข์ได้ยาก ทั้งนี้เพื่อให้การดำเนินชีวิตในต่างแดนเป็นไปด้วยดีสมาคมลับที่ตั้งขึ้นส่วนใหญ่เป็นการรวมกลุ่มของชาวจีนที่พูดภาษาถิ่นเดียวกันและมีกระจายอยู่ทั่วไปในทุกๆ เมืองที่มีชาวจีนไปตั้งหลักแหล่งอยู่กันมาก สมาคมมีบทบาททั้งในด้านดีและในด้านลบ กิจกรรมในด้านดีเป็นเรื่องของการให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลกันในหมู่สมาชิกทั้งในด้านการประกอบอาชีพ และการสงเคราะห์กันในยามตกทุกข์ได้ยาก ส่วนกิจกรรมในด้านลบนั้นมีอยู่ 3 ประการ คือ การทะเลาะวิวาทต่อสู้กันเองระหว่างอั้งยี่กลุ่มต่างๆ การลักลอบประกอบอาชีพทุจริตผิดกฎหมาย และการก่อจลาจลต่อต้านการกดขี่ข่มเหงทั้งจากนายจ้างและขุนนางท้องถิ่น บทบาทในด้านลบของสมาคมได้ก่อผลกระทบหลายประการต่อการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของไทยในช่วงระยะนั้น รัฐบาลได้ดำเนินการทุกวิถีทางที่จะปราบปรามสมาคมลับอั้งยี่ให้หมดสิ้นไป และสามารถล้มล้างสมาคมลับนี้ลงได้ในตอนต้นรัชกาลที่ 6
dc.description.abstractalternativeThis thesis is an analytical study of Triad Societies in Thailand between 182 –1910. The purpose of this thesis is to explore the background of these societies, their various roles and their impact on Thai politics, economics and society during that period. A study of the government’s policies toward the Triad – Society problem is also included. In this research, information from a great number of primary and secondary sources and interviews has been accumulated and thoroughly studied by historical method. From the study, it was found that the overseas Chinese, trying to improve their living conditions in Thailand, founded Triad Societies for helping and protecting each other in their occupations and organizing welfare for unfortunate members. Most societies were assemblies of Chinese who spoke the same dialect. The societies were scattered in the many areas with large number of Chinese inhabitants. These societies had both positive and negative aspects. The assistance and welfare activities were beneficial, but the societies at time fought against each other, performed illegal acts and led uprisings against oppressive employers and local government officials. These latter activities had a very negative impact on Thai politics, economics and society during that period. Thus the Government made many efforts to abolish these secret societies and eventually succeeded in the early years of King Vajiravudh’s reign.
dc.format.extent757582 bytes
dc.format.extent992805 bytes
dc.format.extent2406231 bytes
dc.format.extent2834872 bytes
dc.format.extent2750215 bytes
dc.format.extent885441 bytes
dc.format.extent1391852 bytes
dc.format.extent3252921 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอั้งยี่
dc.titleสมาคมลับอังยี่ในประเทศไทย พ.ศ. 2367-2453en
dc.title.alternativeTriad societies in Thailand 1824-1910en
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประวัติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suparat_Le_front.pdf739.83 kBAdobe PDFView/Open
Suparat_Le_ch1.pdf969.54 kBAdobe PDFView/Open
Suparat_Le_ch2.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open
Suparat_Le_ch3.pdf2.77 MBAdobe PDFView/Open
Suparat_Le_ch4.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open
Suparat_Le_ch5.pdf864.69 kBAdobe PDFView/Open
Suparat_Le_ch6.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open
Suparat_Le_back.pdf3.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.