Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23509
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรเพ็ญ เปรมโยธิน-
dc.contributor.advisorสมลักษณ์ พวงชมภู-
dc.contributor.authorภัทชราวดี สโมสร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-09T03:27:24Z-
dc.date.available2012-11-09T03:27:24Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745311391-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23509-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2547en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพิสูจน์ฤทธิ์ปกป้องตับของสารสกัดมะขามป้อมใน หนูขาวที่ทำให้เกิดพิษต่อตับจากเอทานอล ในการศึกษาพิษระยะเฉียบพลันให้เอทานอลทางปาก แก่หนูขาวขนาด 5 กรัม/กิโลกรัม ครั้งเดียว พบว่าตัวบ่งชี้ของการเกิดพิษต่อตับได้แก่ระดับ AST, ALT สูงขึ้น เมื่อเทียบกับหนูขาวกลุ่มควบคุมและยังพบการเพิ่มขึ้นของ TNF-alpha ในกลุ่ม เอทานอล ส่วนระดับของ IL-1 beta ไตรกลีเซอร์ไรด์ในเลือด (STG) และในตับ (HTG) ระดับของ MDA รวมทั้ง GSH ไม่มีความแตกต่างกันระหว่างกลุ่มเอทานอลและกลุ่มควบคุม เมื่อให้สารสกัด มะขามป้อมทางปากในขนาด 25, 50,75มิลลิกรัม/กิโลกรัมพบว่าที่ขนาด 75 มิลลิกรัม/กิโลกรัมมีผลในการปกป้องตับได้ดีที่สุดและให้ผลเช่นเดียวกับการให้ซิไลมารีน โดยสามารถลดระดับ AST, ALT และ IL-1 beta ในการศึกษาระยะกึ่งเฉียบพลันให้เอทานอลทางปากแก่หนูขาวขนาด 4 กรัม/กิโลกรัม/วัน อย่างต่อเนื่องเป็น เวลา 21 วัน เอทานอลก่อให้เกิดพิษโดยการเพิ่มระดับ AST, ALT, ไตรกลีเซอร์ไรด์ในเลือด TNF-alpha, IL-1 beta เมื่อให้สารสกัดมะขามป้อมทางปาก ในขนาด 75 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน (ซึ่งเป็นขนาดที่ให้ผลที่ดีที่สุดในระยะเฉียบพลัน) ซิไลมารีน และ ลารสกัดมะขามป้อมร่วมกับซิไลมารีน เป็นเวลา 7 วัน พบว่ามีผลลดระดับตัวบ่งชี้ของการเกิดพิษต่อตับได้แก่ AST, ALT, IL-1 beta และ MDA เมื่อเทียบกับกลุ่มเอทานอล ส่วนผลทาง histopathology ทั้งสองระยะให้ผลไปในทางเดียวกันกับผลของค่าเคมีคลินิกที่เป็นตัวบ่งชี้การเกิด พิษต่อตับคือลักษณะของเซลล์ตับดีขึ้นเมื่อได้รับสารสกัดมะขามป้อม, ซิไลมารีน และสารสกัด มะขามป้อมร่วมกับซิไลมารีน ผลการศึกษาครั้งนี้ยืนยันฤทธิ์ปกป้องตับของสารสกัดมะขามป้อมที่มีต่อพิษของ เอทานอลใน หนูขาว ทั้งในระยะเฉียบพลันและกึ่งเฉียบพลัน-
dc.description.abstractalternativeThis study was undertaken to investigate the hepatoprotective effects of Phyllanthus emblica Linn, extract (PE) in ethanol induced hepatotoxic rats. In acute toxic study, rats were given an oral single dose of ethanol 5 g/kg. The significant elevated level of hepatotoxic markers were found including serum AST, ALT and TNF-alpha as compared control rats. Serum triglyceride (STG), hepatic triglyceride (HTG), malondialdehyde (MDA) and IL-1 beta were unchanged. Treatment with PE at oral dose of 25, 50 and 75 mg/kg 4 hours before ethanol, lowered the levels of AST, ALT and IL-1 beta. The 75 mg/kg PE dose gave the best result similar to the effect of silymarin. In sub-acute experiment, ethanol at 4 g/kg/day was administered orally to rats for 21 consecutive days. Ethanol significantly elevated the levels of AST, ALT, STG, TNF-alpha and IL-1 beta. Treatment of rats with PE at the most effective dose from acute study (75 mg/kg/day), silymarin and silymarin plus PE for 7 days lowered the levels of AST, ALT, IL-1 beta and MDA as compared to ethanol rats. Histopathological studies of rat livers from both acute and sub-acute hepatotoxicity studies confirmed the beneficial role of PE, silymarin and silymarin plus PE against ethanol induced liver injury. These data confirmed the hepatoprotective effect of PE against ethanol induced hepatotoxicity in rats both in acute and sub-acute studies.-
dc.format.extent4008294 bytes-
dc.format.extent1039065 bytes-
dc.format.extent5398769 bytes-
dc.format.extent3047547 bytes-
dc.format.extent7401104 bytes-
dc.format.extent1827763 bytes-
dc.format.extent5267978 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectมะขามป้อม -- การใช้รักษา-
dc.subjectตับ -- โรค -- การรักษา-
dc.subjectโรคตับซึ่งเกิดจากการดื่มสุรา -- การรักษา-
dc.subjectPhyllanthus emblica Linn. -- Therapeutic use-
dc.subjectLiver -- Diseases -- Treatment-
dc.subjectAlcoholic liver diseases -- Treatment-
dc.titleผลปกป้องตับของสารสกัดมะขามป้อมในหนูขาวที่ได้รับเอทานอลen
dc.title.alternativeHepatoprotective effect of Phyllanthus emblica Linn. extract in ethanol treated ratsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเภสัชวิทยา (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Patcharavadee_sa_front.pdf3.91 MBAdobe PDFView/Open
Patcharavadee_sa_ch1.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Patcharavadee_sa_ch2.pdf5.27 MBAdobe PDFView/Open
Patcharavadee_sa_ch3.pdf2.98 MBAdobe PDFView/Open
Patcharavadee_sa_ch4.pdf7.23 MBAdobe PDFView/Open
Patcharavadee_sa_ch5.pdf1.78 MBAdobe PDFView/Open
Patcharavadee_sa_back.pdf5.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.