Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24474
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชุมพร ยงกิตติกุล | |
dc.contributor.author | สมบุญ พรหมประสิทธิ์ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-17T16:28:47Z | |
dc.date.available | 2012-11-17T16:28:47Z | |
dc.date.issued | 2524 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24474 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบผลของการประเมินผลงาน 3 แบบ คือ การให้ครูประเมินผลงาน การให้เพื่อประเมินผลงาน และการประเมินผลงานด้วยตนเอง ที่มีต่อการจูงใจต่อเนื่อง โดยตั้งสมมติฐานว่า 1. การประเมินผลงานของผู้รับการทดลอง 3 แบบ จะทำให้ผู้ถูกประเมินเกิดแรงจูงใจต่อเนื่องอยู่ในระดับที่แตกต่างกัน 2. การประเมินผลงานแบบภายนอก อันได้แก่การให้ครูประเมินผลงานและการให้เพื่อนประเมินผลงานจะทำให้ผู้ถูกประเมินเกิดแรงจูงใจต่อเนื่องน้อยกว่า การประเมินแบบภายใน คือ การให้ผู้รับการทดลองแต่ละคนประเมินผลงานของตนเอง กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 45 คน สุ่มมาจากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2523 โรงเรียนวัดนางนอง กรุงเทพมหานคร งานที่ใช้ในการทดลอง คือ ปริศนาอักษรไขว้ ดำเนินการทดลองโดยการสุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มการทดลองหนึ่งในสามเงื่อนไข ให้ผู้รับการทดลองทำงานทดลอง แล้วสังเกตแรงจูงใจต่อเนื่องที่มีต่องานทดลองในช่วงเวลาอิสระหลังจาการทดลองเสร็จเรียบร้อยแล้ว เงื่อนไขการทดลองที่ใช้ คือ การประเมินผลงานโดยครู การประเมินผลงานโดยเพื่อน และการประเมินผลงานด้วยตนเอง ดัชนีของแรงจูงใจต่อเนื่อง คือ (1) การเลือกที่จะกลับมาทำงานชนิดเดียวกับที่ทำในช่วงทดลอง (2) เวลาที่ใช้ในการทำงานตั้งแต่ผู้รับการทดลองหวนกลับมาทำ (3) จำนวนคำตอบที่ถูกต้องของงานที่ทำ และ (4) การของานทำเพิ่มขึ้นจากครูประจำชั้น ดัชนีทั้ง 4 ตัวนี้นำมาแปลงเป็นมาตราเดียวกัน ใช้เป็นคะแนนแรงจูงใจต่อเนื่อง สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มโดยใช้วิธีของเซฟเฟ ผลการวิจัยพบว่า 1.มีความแตกต่งอย่างมีนัยสำคัญในระดับของแรงจูงใจต่อเนื่องของผู้รับการทดลองระหว่างเงื่อนไขที่มีการประเมินโดยครู เพื่อน และตนเอง ที่ระดับความมีนัยสำคัญ 0.1 1.1 ผู้รับการทดลองในเงื่อนไขที่มีการประเมินผลงานโดยครู มีระดับแรงจูงใจต่อเนื่อง ต่ำกว่าผู้รับการทดลองในเงื่อนไขที่มีการประเมินผลงานด้วยตนเอง และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 1.2 ผู้รับการทดลองในเงื่อนไขที่มีการประเมินผลงานโดยเพื่อน มีระดับแรงจูงใจต่อเนื่อง ต่ำกว่าผู้รับการทดลองในเงื่อนไขที่มีการประเมินผลงานด้วยตนเอง และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 1.3 ผู้รับการทดลองในเงื่อนไขที่มีการประเมินผลงานโดยเพื่อน มีระดับแรงจูงใจต่อเนื่อง ต่ำกว่าผู้รับการทดลองในเงื่อนไขที่มีการประเมินผลงานโดยครู และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 2. ผู้รับการทดลองในเงื่อนไขการประเมินแบบภายนอก (การประเมินผลงานโดยครูและเพื่อน) มีระดับแรงจูงใจต่อเนื่อง ต่ำกว่า ผู้รับการทดลองในเงื่อนไขการประเมินแบบภายใน (การประเมินด้วยตนเอง) และแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to make a comparison of the effects of performance evaluation by teacher, peers, and the individual upon continuing motivation. It was hypothesized 1) that the three experimental groups which were evaluated differently would experience a continuing motivation at different levels. 2) that external evaluation either by teachers or by fellow students would produce continuing motivation at a lower degree than internal evaluation i.e. self evaluation. The subjects were forty-five Prathom-Suksa five students randomly selected from the Prathom-Suksa students attending Wat Nang-Nong School in the 1980 academic year. The experimental task involved a set of crossword puzzles. Experimental procedures involved randomly assigning subjects into one of the three experimental conditions, presenting the experimental tasks to the subjects, and observing the subjects’ subsequent continuing motivation during a brief free activity period following the completion of the experimental tasks. The three experimental conditions were : performance evaluation by teacher, by peers, and by the individual. The indices of continuing motivation were : (1) the choice to return to the experimental tasks, (2) the timespent on the tasks once the subjects had returned, (3) the number of correct responses of the attempted items, and (4) the subjects requested for the experimental tasks from the home-room teacher. These four indices were transformed into a single continuing motivation scale. The statistical methods used for data analysis were the one-way ANOVA and the Scheffe’s method for testing differences between groups. The major findings were as follows : 1.There was a significant difference in the degree of continuing motivation between the subjects under the three experimental conditions at the .01 level. 1.1. The subjects under the teacher-evaluation condition had a lower degree of continuing motivation than those under the self-evaluation condition, significant at the .01 level. 1.2 The subjects under the peer-evaluation condition had a lower degree of continuing motivation than those under the self-evaluation condition significant at the .01 level. 1.3 The subjects under the peer-evaluation condition had a lower degree of continuing motivation than those under the teacher-evaluation condition significant at the .01 level. 2.The subjects under the external evaluation condition (evaluation by teacher and by peers) had a lower degree of continuing motivation than the subjects under the internal evaluation condition (self-evaluation) significant at the .01 level. | |
dc.format.extent | 512455 bytes | |
dc.format.extent | 1479295 bytes | |
dc.format.extent | 618520 bytes | |
dc.format.extent | 303952 bytes | |
dc.format.extent | 608474 bytes | |
dc.format.extent | 389549 bytes | |
dc.format.extent | 867510 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การเปรียบเทียบผลของการประเมินผลการทำงานโดยครู เพื่อน และตนเอง ที่มีต่อการจูงใจต่อเนื่อง | en |
dc.title.alternative | A comparison of the effects of performance evaluation by teacher, peers, and self upon continuing motivation | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Somboon_Pr_front.pdf | 500.44 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somboon_Pr_ch1.pdf | 1.44 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somboon_Pr_ch2.pdf | 604.02 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somboon_Pr_ch3.pdf | 296.83 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somboon_Pr_ch4.pdf | 594.21 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somboon_Pr_ch5.pdf | 380.42 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somboon_Pr_back.pdf | 847.18 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.