Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24928
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิรงรอง รามสูต รณะนันทน์
dc.contributor.authorวชิราภรณ์ พรหมชินวงศ์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-21T07:04:36Z
dc.date.available2012-11-21T07:04:36Z
dc.date.issued2545
dc.identifier.isbn9741732619
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24928
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractงานวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งคุณภาพกึ่งปริมาณโดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกกับบรรณาธิการและนักข่าวและการแจกแบบสอบถามกับนักข่าวหนังสือพิมพ์รายวัน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ความคิดเห็นเกี่ยวกับสิทธิรับรู้ข้อมูลตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ การใช้ประโยชน์ ระดับการใช้ประโยชน์ของพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการใช้ประโยชน์ของ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ และเพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคจากการใช้พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการของนักข่าวหนังสือพิมพ์ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1. ประเภทของหนังสือพิมพ์มีความสัมพันธ์กับความรู้เกี่ยวกับสิทธิการรับรู้ข้อมูลตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารอย่างมีนัยสำคัญ 2. รายได้ของนักข่าวหนังสือพิมพ์มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นเกี่ยวกับการบังคับใช้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ ในเรื่องของการใช้อ้างถึงได้เมื่อเจ้าหน้าที่ปฏิเสธที่จะให้ข้อมูลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3. รายได้ของนักข่าวหนังสือพิมพ์มีความสัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์ของพ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ ฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 4. ตำแหน่งงานของนักข่าวหนังสือพิมพ์มีความสัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์ของ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ ฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 5. ปัจจัยที่ทำให้นักข่าวใช้หรือไม่ใช้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ ฯ คือ การที่สาระสำคัญและกระบวนการบังคับใช้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการยังมีจุดบกพร่องจึงไม่สามารถตอบสนองต่อวิถีทางในการทำข่าวของนักข่าวได้ เนื้อหาที่ขัดแย้งกับกฎหมายฉบับอื่น การให้บริการที่ไม่มีประสิทธิภาพของเจ้าหน้าที่รัฐและความไม่เต็มใจในการให้ข้อมูลของเจ้าหน้าที่อันเนื่องมาจากการแทรกแซงทางการเมือง
dc.description.abstractalternativeThis research, using both quantitative and qualitative research methods, has the following objectives: to study the knowledge, opinion, and usage of the Freedom of Official Information Act B.E. 2540 by journalists of daily newspapers in Thailand; to study the factors that may influence the journalists’ use of the Act; to examine problems and limitations arising from the use of the Act by newspaper journalists. Questionnaire-based surveys and in-depth interviews are used as major methods of data collection. The research has these findings: 1) the type of newspaper that journalists are affiliated with has a statistically significant relationship with knowledge about the Freedom of Official Information Act; 2) the income of the journalists has a statistically significant relationship with the opinion about the implementation of the Act (that the Act can be referred to when official deny to reveal information); 3) the income of the journalists has a statistically significant relationship with the use of the Act; 4) the work position of the journalists has a statistically significant relationship with the use of the Act; and 5) Major factors that prevent the journalists from using the Act are: the content and the implementation process of the Act which still contains loopholds and could not respond to the journalists’ reporting custom or tradition, conflicting content with other existing laws, inefficient services of government officials, and the officials’ reiuctance to give information because of political interference.
dc.format.extent3573417 bytes
dc.format.extent4327197 bytes
dc.format.extent19312347 bytes
dc.format.extent3340008 bytes
dc.format.extent20910158 bytes
dc.format.extent5397221 bytes
dc.format.extent3663420 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleความรู้ และความคิดเห็นเกี่ยวกับสิทธิการรับรู้ข้อมูลตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ของนักข่าวหนังสือพิมพ์en
dc.title.alternativeKnowledge and opinion regarding the right to information according to the freedom of official information act B.E.2540 of Thai journalistsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวารสารสนเทศes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wachiraporn_pr_front.pdf3.49 MBAdobe PDFView/Open
Wachiraporn_pr_ch1.pdf4.23 MBAdobe PDFView/Open
Wachiraporn_pr_ch2.pdf18.86 MBAdobe PDFView/Open
Wachiraporn_pr_ch3.pdf3.26 MBAdobe PDFView/Open
Wachiraporn_pr_ch4.pdf20.42 MBAdobe PDFView/Open
Wachiraporn_pr_ch5.pdf5.27 MBAdobe PDFView/Open
Wachiraporn_pr_back.pdf3.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.