Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24955
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนิต ธงทอง-
dc.contributor.authorวิทวัส ภัทรนาวิก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-21T07:38:53Z-
dc.date.available2012-11-21T07:38:53Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741742428-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24955-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัญหาอันเนื่องมาจากคุณภาพของแบบก่อสร้างโรงงาน การนำเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาและแนวทางในการออกแบบให้สะดวกต่อการสร้าง รวมทั้งการสร้างแบบโคร่งร่าง (Framework) การประเมินความสะดวกหรือความเหมาะสมในการก่อสร้างจากแบบก่อสร้างโรงงานและการสร้างแบบจำลอง (Model) การประเมินความสามารถก่อสร้างได้ ในด้านของการลดระยะเวลาและแรงงานคนที่นำมาใช้ในการก่อสร้าง จากรูปแบบการก่อสร้างที่นำมาใช้ในการออกแบบก่อสร้างโรงงาน ในรูปของคะแนนเชิงปริมาณ (Quantitative) สำหรับขั้นตอนการศึกษาแบ่งออกได้เป็น 5 ส่วนคือ ส่วนแรกและส่วนที่สอง เป็นการศึกษาปัญหาอันเนื่องมาจากคุณภาพของแบบก่อสร้างโรงงาน การนำเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาและแนวทางการออกแบบให้สะดวกต่อการก่อสร้าง โดยการสัมภาษณ์ความคิดเห็นของผู้รับเหมาก่อสร้างโรงงาน จำนวน 15 ราย ส่วนที่สามการสร้างแบบโครงร่างการประเมินคะแนนตามปัจจัยที่ส่งผลต่อความสะดวกหรือความเหมาะสมในการก่อสร้างอันเนื่องมาจากแบบก่อสร้างโรงงาน ในส่วนของงานฐานราก เสา คาน พื้น ผนังและหลังคา โดยใช้มาตรวัด Likert ส่วนที่สี่ การสร้างแบบจำลองการประเมินความสามารถก่อสร้างได้ จากรูปแบบการก่อสร้างที่นำมาใช้ในการออกแบบก่อสร้างโรงงาน โดยอาศัยแนวความคิดของแบบจำลองการประเมินความสามารถก่อสร้างได้ของประเทศสิงคโปร์และทฤษฎีอรรถประโยชน์พหุลักษณ์ (MAUT) ส่วนสุดท้าย เป็นการทดสอบความถูกต้องของแบบจำลอง โดยการเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญการก่อสร้างต่อระดับความยากง่ายในการก่อสร้าง(ในด้านของการลดระยะเวลาและอัตราการทำงานที่ใช้ในการก่อสร้าง) จากรูปแบบการก่อสร้างที่นำมาใช้ในการออกแบบโดยมาตรวัด Likert กับคะแนนความสามารถก่อสร้างได้ที่คำนวณได้จากแบบจำลองผลการศึกษาสรุปได้ว่า ปัญหาอันเนื่องมาจากคุณภาพของแบบก่อสร้างโรงงาน เช่น ปัญหาแบบก่อสร้างไม่ชัดเจน แสดงรายละเอียดไม่ครบถ้วน ปัญหาแบบก่อสร้างไม่สอดคล้องกับรายการประกอบแบบ เป็นต้น ส่วนแนวทางการแก้ปัญหาและแนวทางการออกแบบให้สะดวกต่อการก่อสร้างได้จากการประยุกต์ใช้หลักปฏิบัติเกี่ยวกับออกแบบให้สามารถก่อสร้างได้ ในส่วนของแบบโครงร่างที่นำเสนอใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับ (Feed Back) ไปยังผู้ออกแบบ เพื่อให้ผู้ออกแบบนำมาปรับปรุง แก้ไขออกแบบให้ดียิ่งขึ้นในภายหลัง และแบบจำลองที่นำเสนอเป็นเครื่องมือเพื่อให้ผู้ออกแบบและเจ้าของงานใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาเลือกรูปแบบการก่อสร้างในขั้นตอนของการออกแบบ จากผลการทดสอบความถูกต้องของแบบจำลอง คะแนนที่ประเมินได้จากแบบจำลองที่นำเสนอในงานวิจัยมีความสอดคล้องกับความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ-
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study problems associated with the quality of drawings, especially for factory construction, and to propose a guideline for buidable design of a factory. Moreover, a framework for evaluating the buildability and suitability level of the complete design of a factory in Thailand was created. A quantitative model supporting the selection of the design concepts which provide an easy-to¬-build factory in terms of working time and workforce required was also proposed. Research methods were divided into 5 steps as follows: 1) review problems associated with quality of the drawings used in factory construction; 2) propose solutions and provide guidelines for designing an easy-to-construct factory. Under these two steps, the required data were derived from conducting interviews of 15 factory contractors: 3) develop a framework for assessing the factors which influence the buildability and suitability level for footings, columns, floors and roof by Likert's rating score: 4) create a model for assessing buildability of the design at the design stage by evaluating the design concepts of building members employing in the previous Buildable Design model from Singapore and Multi-Attribute Utility Technology (MAUT): and 5) verify the proposed model by comparing the results from experts' judgement on the difficulty level of the construction operations in terms of project time and workforce to obtain buildability score. It was found that the problems of quality of factory drawings composed of lack of clarity. insufficient details, and inconsistencies of drawings and specifications. The buildability concepts were applied as a guideline for resolving problems and for designing an easy-to-construct factory. The proposed framework provides feedback to designers for improving and rectifying their drawings. Moreover, this model is a supporting tool for selecting construction patterns in the early design stage. From the results of model verification, it was found that the score assessed under the research model was consistent with the experts' determinations.-
dc.format.extent7235860 bytes-
dc.format.extent4038696 bytes-
dc.format.extent10344296 bytes-
dc.format.extent12241629 bytes-
dc.format.extent5849320 bytes-
dc.format.extent11089838 bytes-
dc.format.extent14990355 bytes-
dc.format.extent2828332 bytes-
dc.format.extent20361439 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการก่อสร้าง-
dc.subjectโรงงาน--การออกแบบและการสร้าง-
dc.subjectBuilding-
dc.subjectFactories--Design and construction-
dc.titleแนวทางการออกแบบให้สามารถก่อสร้างได้สำหรับการก่อสร้างโรงงานในประเทศไทยen
dc.title.alternativeGuidelines for buildable design for factory construction in Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wittawat_pa_front.pdf7.07 MBAdobe PDFView/Open
Wittawat_pa_ch1.pdf3.94 MBAdobe PDFView/Open
Wittawat_pa_ch2.pdf10.1 MBAdobe PDFView/Open
Wittawat_pa_ch3.pdf11.95 MBAdobe PDFView/Open
Wittawat_pa_ch4.pdf5.71 MBAdobe PDFView/Open
Wittawat_pa_ch5.pdf10.83 MBAdobe PDFView/Open
Wittawat_pa_ch6.pdf14.64 MBAdobe PDFView/Open
Wittawat_pa_ch7.pdf2.76 MBAdobe PDFView/Open
Wittawat_pa_back.pdf19.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.