Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24965
Title: ผลของการฝึกแอโรบิคดานซ์ที่มีต่อความอดทนของระบบไหลเวียน และเปอร์เซนต์ไขมันของร่างกาย
Other Titles: Effects of aerobic dance conditioning on cardiovascular endurance and percent of body fat
Authors: รัตนา กิติสุข
Advisors: เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Subjects: สมรรถภาพทางกาย
การออกกำลังกาย
Issue Date: 2527
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการฝึกแอโรบิคดานซ์ที่มีต่อความอดทนของระบบไหลเวียนและเปอร์เซ็นต์ไขมันของร่างกาย โดยใช้ผู้รับการทดลองเป็นเพศหญิง อายุ 30-45 ปี ซึ่งมิได้ออกกำลังกายเป็นประจำ จำนวน 30 คน การศึกษาสมรรถภาพการใช้ออกซิเจนในระดับเกือบสูงสุดนั้น ใช้วิธีทดสอบลู่กลของบอลกี และเปอร์เซ็นต์ไขมันของร่างกายโดยใช้การวัดไขมันใต้ผิวหนัง ซึ่งเป็นผลจากการฝึกเต้นแอโรบิคดานซ์ ฝึกเป็นระยะเวลา 2 เดือน ฝึกสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง โดยแบ่งการฝึกออกเป็น 3 ช่วง ช่วงละ 10-15 นาที พักระหว่างช่วงละ 5 นาที แล้วนำผลที่ได้จากการทดสอบสมรรถภาพทางกายทั้งก่อนและหลังการฝึกเต้นแอโรบิคดานซ์มาวิเคราะห์ตามวิธีสถิติ โดยการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วจึงทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยค่า “ที” (t-test) ผลปรากฏว่า 1. ค่าเฉลี่ยของสมรรถภาพการใช้ออกซิเจนในระดับเกือบสูงสุดทั้งก่อนและหลังการฝึกเต้นแอโรบิคดานซ์มีความแตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .01 2. ค่าเฉลี่ยของเปอร์เซ็นต์ไขมันของร่างกาย ทั้งก่อนและหลังการฝึกเต้นแอโรบิคดานซ์มีความแตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .01
Other Abstract: The purpose of this research was to investigate the effects of aerobic dance conditioning on cardiovascular endurance and percent of body fat of thirty sedentary middle aged women ranging in age from 30 to 45 years. The Cooper Modification of the Balke Treadmill Test was used to determine Submaximal Optake. The skinfold fat measurement was used to determine percent of body fat. The subjects were trained 3 times a week for 2 months. Each time was separated into 3 sets of training. Each set took 10-15 minutes in training with 5 minute break. The obtained data were then analized interms of mean, standard deviation and the t-test were employed to determine the significant difference. The results of the study indicated that aerobic dance will increase cardiovascular efficiency and reduce percent of body fat. (P<.01)
Description: Aวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: พลศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24965
ISBN: 9745632368
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ratana_Ki_front.pdf445.81 kBAdobe PDFView/Open
Ratana_Ki_ch1.pdf479.95 kBAdobe PDFView/Open
Ratana_Ki_ch2.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open
Ratana_Ki_ch3.pdf352.9 kBAdobe PDFView/Open
Ratana_Ki_ch4.pdf402.09 kBAdobe PDFView/Open
Ratana_Ki_ch5.pdf788.84 kBAdobe PDFView/Open
Ratana_Ki_back.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.