Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24978
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัชรี ทรัพย์มี
dc.contributor.authorเบญจมาศ สุนทรสีมะ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-21T08:03:29Z
dc.date.available2012-11-21T08:03:29Z
dc.date.issued2516
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24978
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2516en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีความประสงค์ที่จะศึกษาการใช้คะแนนแบบทดสอบลักษณะความเป็นผู้นำ คะแนนแบบทดสอบสังคมมิติ เพื่อพยากรณ์ความเป็นผู้นำของนักเรียน ในการวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ทำการสุ่มตัวอย่างจากนักเรียนโรงเรียนพณิชยการพระนครศรีอยุธยา จำนวน 160 คน แล้วแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบทดสอบลักษณะความเป็นผู้นำ จำนวน 100 คน ซึ่งในกลุ่มนี้แบ่งออกเป็นกลุ่มนักเรียนที่เป็นประธานนักเรียน รองประธานนักเรียน กรรมการนักเรียน หัวหน้าห้อง รองหัวหน้าห้อง จำนวน 75 คน และนักเรียนที่ไม่ได้มีคุณสมบัติดังเช่นกลุ่มแรก จำนวน 25 คน 2. กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบทดสอบลักษณะความเป็นผู้นำ และแบบทดสอบสังคมมิติ จำนวน 60 คน ซึ่งในกลุ่มนี้แบ่งออกเป็นกลุ่มนักเรียนที่เป็นประธานนักเรียน รองประธานนักเรียน กรรมการนักเรียน หัวหน้าห้อง รองหัวหน้าห้อง จำนวน 20 คน และนักเรียนที่ไม่ได้มีคุณสมบัติดังเช่นกลุ่มแรก จำนวน 40 คน แบบทดสอบที่นำมาใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบทดสอบลักษณะความเป็นผู้นำที่นางสาวผ่องพรรณ อยู่ประเสริฐ ดัดแปลงมาจาก “The Leadership Ability Evaluation (LAE)” สร้างขึ้นโดยคัสเซล และสเตนิค (Cassel and Stanick) ในปี ค.ศ. 1961 และแบบทดสอบสังคมมิติที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แล้วคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’ Product Moment Correlation Coefficient) ระหว่างคะแนนแบบทดสอบลักษณะความเป็นผู้นำกับคะแนนความเป็นผู้นำ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนแบบทดสอบลักษณะความเป็นผู้นำ ไม่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กับคะแนนความเป็นผู้นำนักเรียน 2. คะแนนแบบทดสอบสังคมมิติ มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับคะแนนความเป็นผู้นำนักเรียน 3.คะแนนแบบทดสอบลักษณะความเป็นผู้นำ ไม่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับคะแนนแบบทดสอบสังคมมิติ
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to predict the student’s leadership ability from their scores on standardized leadership scale and with a sociometric technique. The subjects were one hundred and sixty students drawn from The Ayudhaya Commercial School. They were divided into two groups. The first group consisted of one hundred students: seventy-five of them were presidents, vice-presidents or committee members of the student organization. The rest were non-leaders. The second group was comprised of sixty students, twenty of whom were leaders. The leadership score was given to each leader according to the number of years he had been in a position of leadership. An adapted Thai Version of Cassel and Stanick’s Leadership Ability Evaluation (LAE, 1961) was given to both groups, and in addition, the sociometric technique was employed for the second group. The collected data was analyzed by means of Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient in order to find the intercorrelations between the students’ leadership scores and their scores on the LAE, as The major results were as follows: 1. The students’ leadership scores and their scores on LAE were not significantly correlated. 2. The students’ leadership scores were significantly correlated with their scores on the sociometric test. 3. There was no statistically significant correlation between the students’ scores on LAE and those on the sociometric test.
dc.format.extent375374 bytes
dc.format.extent386091 bytes
dc.format.extent327731 bytes
dc.format.extent559988 bytes
dc.format.extent317435 bytes
dc.format.extent313572 bytes
dc.format.extent710940 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภาวะผู้นำในวัยรุ่น
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา
dc.subjectสังคมมิติ
dc.subjectการวัดผลทางการศึกษา
dc.subjectLeadership in adolescents
dc.subjectHigh school students
dc.subjectSociometry
dc.subjectEducational tests and measurements
dc.titleการใช้คะแนนแบบทดสอบลักษณะความเป็นผู้นำ สังคมมิติ พยากรณ์ความเป็นผู้นำของนักเรียนen
dc.title.alternativeLeadership ability and sociometric technique as predictors of student leaderen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Benjamas_Su_front.pdf366.58 kBAdobe PDFView/Open
Benjamas_Su_ch1.pdf377.04 kBAdobe PDFView/Open
Benjamas_Su_ch2.pdf320.05 kBAdobe PDFView/Open
Benjamas_Su_ch3.pdf546.86 kBAdobe PDFView/Open
Benjamas_Su_ch4.pdf310 kBAdobe PDFView/Open
Benjamas_Su_ch5.pdf306.22 kBAdobe PDFView/Open
Benjamas_Su_back.pdf694.28 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.