Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25344
Title: กำลังเสียดทานที่ผิวสัมผัสของวัสดุจีโอซินเทติกส์
Other Titles: Interface shear strength of geosynthetics
Authors: จิตติ มณีไพโรจน์
Advisors: สุพจน์ เตชวรสินสกุล
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Issue Date: 2547
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ในการวิเคราะห์สเถียรภาพของสถานฝังกลบขยะมูลฝอยจะขึ้นอยู่กับมุมเสียดทานภายใน ของดิน และวัสดุจีโอซินเทติกส์ที่ใช้เป็นวัสดุปิดทับ โดยมุมเสียดทานภายในจะได้จากการทดสอบ โดยเครื่องมือในห้องปฏิบัติการ วัสดุจีโอซินเทติกส์ที่ใช้ดังนี้ วัสดุจีโอเทคไทลล์ที่มีความหนาต่างกัน วัสดุจีโอเมมเบรน และวัสดุจีโอเนท จากการทดสอบหาค่ามุมเสียดทานภายในของทรายทั้งสภาพแน่น และสภาพหลวม พบว่า จะมีค่ามุมเสียดทานภายใน 36 และ42 องศา ตามลำดับ ส่วนผลการทดสอบหาค่ามุมเสียดทานที่ผิวสัมผัสระหว่างทรายและวัสดุจีโอซินเทติกส์พบว่า ค่าอยู่ประมาณ 0.69-0.75 ของค่ามุมเสียดทานภายในของทราย ซึ่งมุมเสียดทานระหว่างวัสดุจีโอชินเทติกส์เป็นมุมที่เกิดการวิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ มุมเสียดทานที่ผิวสัมผัสระหว่างวัสดุจีโอเมมเบรน และวัสดุจีโอเนท และผล การทดสอบหาค่ามุมเสียดทานภายในของวัสดุจีโอซินเทติกส์ด้วยกันเองพบว่า มีค่าอยู่ประมาณ 10-12 องศา
Other Abstract: Stability of a landfill greatly depends on the intenal friction among soils and geosynthetics materials used as liners. The internal friction use determined using developed laboratory testing device. The geosynthetic materials used are non-woven geotextiles, geomembranes and geonet. Geotextiles with two different thickness were used in the study. Experiments were first carried out of determine the function angle of used sand. It was found that the friction angle of loose and dense sands were 36° and 42°,respectively. The interface frictions between soil and geosynthetic were determined. It was found that the reduction factor of about 0.69-0.75 must be applied to the soil friction angle. Friction amoung geosynthetics were most critical, especially the friction between geomembrane and geonet. Ingeneral, interface friction angle among geosynthetics were about 10° -12°
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมโยธา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25344
ISBN: 9745312282
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jitti_ma_front.pdf3.31 MBAdobe PDFView/Open
Jitti_ma_ch1.pdf1.58 MBAdobe PDFView/Open
Jitti_ma_ch2.pdf7.31 MBAdobe PDFView/Open
Jitti_ma_ch3.pdf7.67 MBAdobe PDFView/Open
Jitti_ma_ch4.pdf9.5 MBAdobe PDFView/Open
Jitti_ma_ch5.pdf897.65 kBAdobe PDFView/Open
Jitti_ma_back.pdf981.36 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.