Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2538
Title: Effectiveness of tamsulosin in treatment of lower urinary tract symptoms in women
Other Titles: ประสิทธิผลของยาแทมซูโลซินในการรักษาอาการขับถ่ายปัสสาวะผิดปกติของผู้หญิง
Authors: Nithi Pummangura
Advisors: Thewarug Werawatganon
Visanu Thamlikitkul
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Medicine
Advisor's Email: Thewarug.W@Chula.ac.th
Subjects: Tamsulosin
Urinary tract infections
Urinary organs--Diseases
Urination disorders
Issue Date: 2004
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Objective: To compare the effectiveness of Tamsulosin in treatment of lower urinary tract symptoms (LUTS) in women. Design: Randomized double-blind placebo controlled trial Setting: Ramathibodi Hospital. Method: One hundred and fifty patients who were in eligible criteria at urological outpatient department were randomly allocated into 2 groups by block randomization. Group 1 received 0.2 mg of Tamsulosin and group 2 received placebo orally for 1 month in a double-blind fashion. Outcome variables included mean change of International prostate symptom score (IPSS), mean change of urinary flow rate and any adverse effect. Results: Mean change of IPSS (SD) were -5.2 (6.1) in Tamsulosin group and -2.8 (6.0) in placebo group. There was considered statistically significant. (exact p-value = 0.042) by Mann-Whitney U test. Mean change of urinary flow rate (SD) were 0.6 (2.6) ml/s in Tamsulosin group and -0.6 (2.5) ml/s in placebo group. There was considered statistically significant (exact p-value = 0.008). There were two patients in Tamsulosin group who had dizziness and asthenia. No any other adverse effect was detected. Conclusion: Tamsulosin was more efficacious than placebo in treatment of LUTS in women and should be used in selected female patients with LUTS.
Other Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลของยารับประทานแทมซูโลซิน ในการรักษาอาการขับถ่ายปัสสาวะผิดปกติของผู้หญิง รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม สถานที่ทำการวิจัย: โรงพยาบาลรามาธิบดี วิธีการศึกษา: ผู้ป่วยหญิงที่เข้ามารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลรามาธิบดีและเข้าเกณฑ์การคัดเลือก 150 ราย ได้รับการแบ่งเป็น 2 กลุ่ม โดยวิธีการสุ่ม กลุ่มแรก ได้รับยาแคปซูลแทมซูโลซิน 0.2 มิลลิกรัม ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับยาหลอก ทั้ง 2 กลุ่มจะได้รับยาเป็นเวลา 1 เดือน โดยรับประทานยาวันละ 1 ครั้งก่อนนอน ประเมินผลการรักษาโดยคะแนนแบบสอบถามการขับถ่ายปัสสาวะผิดปกติ อัตราการไหลของปัสสาวะก่อนและหลังให้ยา และภาวะแทรกซ้อนหลังการให้ยา ผลการศึกษา: ค่าเฉลี่ย (SD) ความแตกต่างของคะแนนแบบสอบถามก่อนและหลังให้ยาเท่ากับ -5.2 (6.1) ในกลุ่มยาแทมซูโลซิน และ -2.8 (6.0) ในกลุ่มยาหลอก โดยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (exact p-value = 0.042) ค่าเฉลี่ย (SD) ความแตกต่างของอัตราการไหลของปัสสาวะก่อนและหลังให้ยาเท่ากับ 0.6 (2.6) มิลลิลิตรต่อวินาที ในกลุ่มยาแทมซูโลซิน และ -0.6 (2.5) มิลลิลิตรต่อวินาที ในกลุ่มยาหลอก โดยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (exact p-value = 0.008) ในส่วนของภาวะแทรกซ้อนหลังการให้ยาพบอาการมึนงงและอ่อนเพลียในกลุ่มที่ได้รับยาแทมซูโลซิน 2 ราย และไม่พบภาวะแทรกซ้อนใดๆ ในกลุ่มที่ได้รับยาหลอก สรุป: ยาแคปซูลแทมซูโลซินมีประสิทธิผลสูงกว่ายาหลอกในการรักษาอาการขับถ่ายปัสสาวะผิดปกติของผู้หญิง และควรเลือกใช้ยาแคปซูลแทมซูโลซินในผู้หญิงที่มีอาการขับถ่ายปัสสาวะผิดปกติเฉพาะราย
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2004
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Health Development
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2538
ISBN: 9741768702
Type: Thesis
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nithi.pdf488.9 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.