Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25679
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวดี บุญลือ-
dc.contributor.authorรุจิรารัตน์ ชูทองรัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-23T09:13:56Z-
dc.date.available2012-11-23T09:13:56Z-
dc.date.issued2525-
dc.identifier.isbn9745610364-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25679-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525en
dc.description.abstractประชาชนที่มีคุณภาพเป็นหัวใจสำคัญอย่างหนึ่งต่อการพัฒนาประเทศ วัยทารกเป็นจุดเริ่มต้นในการวางรากฐาน ซึ่งจะพัฒนาต่อไปเป็นกำลังสำคัญของชาติ การปฏิบัติตนอย่างถูกต้องของมารดาจึงเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง หน่วยสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยาโรงพยาบาลศิริราช จึงได้มีโครงการให้คำแนะนำมารดาเกี่ยวกับการปฏิบัติตนระหว่างตั้งครรภ์ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาถึงประสิทธิผลของการให้คำแนะนำ ดังกล่าว การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ทราบประสิทธิผลของการให้ความรู้ โดยใช้สื่อบุคคลและภาพพลิกต่อการเพิ่มความรู้และเปลี่ยนแปลงทัศนคติ เรื่องการปฏิบัติตนระหว่างตั้งครรภ์ 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับความรู้และทัศนคติเรื่องการปฏิบัติตนระหว่างตั้งครรภ์ กับปัจจัยทางประชากร อันได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา ระดับเศรษฐกิจ จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ และระดับความวิตกกังวล กลุ่มตัวอย่างคือหญิงมีครรภ์ที่มาฝากครรภ์ ที่แผนกสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยาโรงพยาบาลศิริราช จำนวน 120 คน การวางแบบงานวิจัยเป็นแบบกลุ่มตัวอย่างเดียววัด 2 ครั้ง คือ ก่อนให้ความรู้ และหลังให้ความรู้ ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิผลของการให้ความรู้โดยใช้สื่อบุคคลและภาพพลิก ก่อให้เกิดการเพิ่มความรู้ และเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ในเรื่องการปฏิบัติตนระหว่างตั้งครรภ์หลังการให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ โดยส่วนรวมมีคะแนนหมวดความรู้ และทัศนคติมากกว่าก่อนได้รับความรู้ 2. ในการเพิ่มความรู้เรื่องการปฏิบัติตนระหว่างตั้งครรภ์ หลังการให้ความรู้ โดยใช้สื่อบุคคลและภาพพลิก หญิงมีครรภ์โดยส่วนรวมมีคะแนนหมวดความรู้มากกว่าก่อนได้รับความรู้ และเมื่อจำแนกตามระดับการศึกษาและระดับเศรษฐกิจ หญิงมีครรภ์ที่มีระดับการศึกษาสูงและระดับเศรษฐกิจสูง จะมีคะแนนหมวดความรู้เพิ่มขึ้นสูงกว่าหญิงมีครรภ์ที่มีระดับการศึกษาต่ำและระดับเศรษฐกิจต่ำ แต่คะแนนหมวดความรู้จะเพิ่มขึ้นไม่แตกต่างกันเมื่อจำแนกตามอายุ จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ และระดับความวิตกกังวล 3. การเปลี่ยนแปลงทัศนคติเรื่องการปฏิบัติตนระหว่างตั้งครรภ์ หลังการให้ความรู้โดยใช้สื่อบุคคลและภาพพลิก หญิงมีครรภ์โดยส่วนรวมมีคะแนนหมวดทัศนคติสูงกว่าก่อนได้รับความรู้ แต่คะแนนหมวดทัศนคติจะเพิ่มขึ้นไม่แตกต่างกัน เมื่อจำแนกตาม อายุ ระดับการศึกษา ระดับเศรษฐกิจ จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ และระดับความวิตกกังวล-
dc.description.abstractalternativeThe quality of people is one of key issue in development. During their infancy is the most important beginning. If we lay a good base for the infant, they will grow up to be healthy, valuable resources and the good base of human society. Prenatal care of the pregnant women are therefore the mast important for their healthy infancy. The Obstetric & Gynaccological Nursing Unit Department of Siriraj Hospital has provided the Mother raft for the pregnant women who attended prenatal clinic at Siriraj Hospital. Mowever, the project has never been evaluated since it started. The purpose of this study was two folds First, to study the effectiveness of personal media and flipchart usage in imparting knowledge on Mothercraft Second, to study the association between knowledge and attitude levels and some important population factors such as age education, economic status, frequency of pregnancy and anxiety. One hundred and twenty pregnant women who attended prenatal clinic at the Obstetric & Gynaecological Nursing Unit Department of Siriraj Hospital were interviewed twice as it waspretest-postest same sample. It was found that 1. The pregnant women could increased knowledge and change attitude about prenatal care after exposure to Mother craft course using lecture and flipchart. 2. About knowledge increased, it was found that after exposure to the Mothercraft course which personal media and flipchart were used, almost all pregnant women increased their knowledge. Women with higher education and economic status had higher level of knowledge increased. However, there was no difference in knowledge increased among women with difference levels of anxiety about the pregnancy, frcquency of pregnancy, and age groups. 3. After exposure to the Mothercraft coursr, almost all pregnant women had higher level of good attitude toward the pregnancy. However, there was no significant difference among women with varying age, education economic status anxiety level and frequency of pregnancy.-
dc.format.extent570236 bytes-
dc.format.extent557523 bytes-
dc.format.extent1005455 bytes-
dc.format.extent397000 bytes-
dc.format.extent810932 bytes-
dc.format.extent774183 bytes-
dc.format.extent2283184 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleประสิทธิผลของการให้ความรู้โดยใช้สื่อบุคคลและภาพพลิก ต่อการเพิ่มความรู้และเปลี่ยนแปลงทัศนคติของหญิงมีครรภ์ที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาลศิริราชen
dc.title.alternativeThe effectiveness of personal media and flipchart usage in imparting knowlege on mothercraft : a study of knowledge increase and attitude change of the pregnant women at Siriraj hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rujirarut_Ch_front.pdf556.87 kBAdobe PDFView/Open
Rujirarut_Ch_ch1.pdf544.46 kBAdobe PDFView/Open
Rujirarut_Ch_ch2.pdf981.89 kBAdobe PDFView/Open
Rujirarut_Ch_ch3.pdf387.7 kBAdobe PDFView/Open
Rujirarut_Ch_ch4.pdf791.93 kBAdobe PDFView/Open
Rujirarut_Ch_ch5.pdf756.04 kBAdobe PDFView/Open
Rujirarut_Ch_back.pdf2.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.