Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25931
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยพร วิชชาวุธ-
dc.contributor.authorสร้อยระย้า สิริวาร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-25T11:53:14Z-
dc.date.available2012-11-25T11:53:14Z-
dc.date.issued2518-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25931-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518en
dc.description.abstractการทดลองนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษา ( 1 ) ผลยับยั้งพฤติกรรมขันอาสาของคนเมื่อยู่ต่อหน้าเพื่อนและคนแปลกหน้าในเหตุการณ์ฉุกเฉิน ( 2 ) เพื่อเปรียบเทียบกับผลการวิจัยของลาตาเน่ และ ดาร์เล่ ( Latane and Darley, 1968) และผลการวิจัยของลาตาเน่และโรแดง ( Latane and Rodin , 1969) กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 2 – 4 ที่ศึกษาในปีการศึกษา 2517 คณะครุศาสตร์ และคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จำนวน 140 คน โดยเชิญผู้รับการทดลองมาร่วมการสัมภาษณ์ในหัวข้อ “ปัญหาการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย” แบ่งกลุ่มทดลองออกเป็น 4 เงื่อนไข ดังนี้ ( 1 ) เงื่อนไขคนเดียว จำนวน 20 คน แต่ละคนเผชิญกับเหตุการณ์ฉุกเฉิน ขณะที่ทำแบบสอบถามก่อนสัมภาษณ์คนเดียว ( 2 ) เงื่อนไขผู้รับการทดลองกับผู้ร่วมคิด จำนวน 40 คน ผู้ร่วมคิดเป็นผู้ที่ทราบถึงการวิจัยโดยตลอด และได้รับการบอกให้มีพฤติกรรมเฉย พยายามหลีกเลี่ยงการสนทนาให้มากที่สุด และไม่สนใจต่อเหตุการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้น ( 3 ) เงื่อนไขคู่เพื่อนจำนวน 20 คู่ ผู้รับการทดสอบแต่ละคนอยู่กับเพื่อนขณะที่ทำแบบสอบถาม ( 4 ) เงื่อนไขคู่คนแปลกหน้า จำนวน 20 คู่ ผู้รับการทดลองในแต่ละคน ไม่รู้จักคุ้นเคยกัน และไม่มีการแนะนำให้รู้จักกัน เหตุการณ์ฉุกเฉินในการทดลองเกิดขึ้นหลังจากผู้ทดลองอออกจาห้องทดลองแล้ว 1 นาที เป็นควันสีขาว ที่เกิดจากการทำปฏิกิริยาของสารเคมีได้แก่ ซิงค์ออกไซด์ เฮกซ่าคลอโรอีเทน อลูมิเนียม แบเรียมไนเตรด และกัมมะกันผง ควันสีขาวเคลื่อนที่จากกระป๋องผ่านทางช่องประตูอีกห้องหนึ่งที่แง้มไว้เข้ามาในห้องทดลอง ขณะที่ผู้รับการทดลองกำลังทำแบบสอบถามก่อนการสัมภาษณ์ การทดลองสิ้นสุดลง ถ้าผู้รับการทดลองในแต่ละเงื่อนไขออกมารายงานหรือไม่ออกมารายงานการเกิดควันภายใน 5 นาที ตัวแปรตามในการทดลองนี้คือ เวลาที่ผู้รับการทดลองแต่ละคนอยูในห้องทดลองก่อนออกมารายงานการเกิดควัน วิธีวิเคราะห์ข้อมูลคือ หาค่าร้อยละของการแสดงพฤติกรรมขันอาสาในแต่ละเงื่อนไขและวิเคราะห์ค่าไคสแควร์เพื่อทดสอบความมีนัยสำคัญ ผลการวิจัยที่สำคัญปรากฏว่า ( 1 ) มีการแสดงพฤติกรรมขันอาสาในเงื่อนไขคนเดียว 85 % เงื่อนไขคู่เพื่อน และคู่คนแปลกหน้า 90% และเงือนไขผู้รับการทดลองกับผู้ร่วมคิด 45 % ( 2 ) การแสดงพฤติกรรมขันอาสาในเงื่อนไขคนเดียวมากกว่าในเงื่อนไขผู้ร่วมคิดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( 3 ) การแสดงพฤติกรรมขันอาสาในเงื่อนไขคู่เพื่อนไม่แตกต่างจากเงื่อนไขคนเดียว และเงื่อนไขผู้รับการทดลองกับผู้ร่วมคิดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( 4 ) การแสดงพฤติกรรมขันอาสาในเงื่อนไขคู่คนแปลกหน้าไม่แตกต่างจากเงื่อนไขคนเดียว และเงื่อนไขผู้รับการทดลองกับผู้ร่วมคิดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( 5 ) การแสดงพฤติกรรมขันอาสาในเงื่อนไขคู่เพื่อน และคู่คนแปลกหน้าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( 6 ) คนไทยและคนอเมริกันมีการแสดงพฤติกรรมขันอาสาในเงื่อนไขคนเดียวไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( 7 ) ยังไม่สามารถสรุปได้ว่า คนไทยและคนอเมริกันมีการแสดงพฤติกรรมขันอาสาในเงื่อนไขคู่เพื่อน คู่คนแปลกหน้า และผู้รับการทดลองกับผู้ร่วมคิดแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เพราะเนื่องจากเป็นการเปรียบเทียบในสภาพการทดลองที่แตกต่างกัน-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this experiment were to study the inhibiting effect of the presence of friends and strangers on bystander intervention in emergency situation and comparison of the results in this study with those of Latane and Darley (1968) and Latane and Rodin (1969) The subjects of the experiment were 140 males and females undergraduates of the Faculty of Education and Faculty of Commerce and Accountancy, Chulalongkorn University in the academic year 1974. They were invited to an interview to discuss “some of the problems involved in university life”. Four experimental groups were used: (1) Alone Condition (N=20), each subject was by himself in the testing room while filling out the questionnaire and were exposed to the potentially critical situation. (2) Subject with Confederate Condition (N=40), the confederate had instructions to be passive, avoid conversation as much as possible and pay no attention to the presence of the smoke. (3) Two-Friend Condition (N=20 pairs), each subject had been scheduled with a friend and remained with him throughout the experiment. (4) Two-Stranger Condition (N=20 pairs),Strangers were placed in the testing room in pairs. Each subject in the pair was unacquainted with the other before entering the room and they were not introduced. The emergency situation was produced one minute after the experimenter left the testing room. It was smoke coming through a small gap at the door. The smoke was made from Zine oxide, Hexachlorethane, Aluminum, Barium Nitrate and Sulfur. It formed a moderate fine-textured but clearly visible stream of whitish smoke. If the subject had not report the presence of this whitish smoke by 5 minutes from the time he first noticed it, the experiment was terminated. The dependent variable of the study was the length of time the subject remained in the room before leaving to report the smoke. The data were converted into percentage of subjects reporting the smoke in each condition and Chi-square tests were performed. The major results were: (1) 85 % of the subjects in the Alone Condition, 90 % in the Two-Friend and the Two-Stranger Condition and 45 % in the Subject with Confederate Condition reported the smoke. (2) There was significant difference (p < .05) in reporting the smoke between the Alone Condition and the Subject with Confederate Condition. (3) There were no difference in reporting the smoke between the Two – Friend Condition and the Alone Condition or the Subject with Confederate Condition. (4) There were no difference in reporting the smoke between the Two – Stranger Condition and the Alone Condition or the Subject with Confederate Condition. (5) The was no difference in reporting the smoke between the Two- Friend Condition and the Two-Stranger Condition. (6) There was no difference between Thai and American subjects (Latane and Darley, 1968) in the Alone Condition in reporting the smoke. (7) According to the difference of experimental setting, these results could not be interpreted that there were significant differences between Thai and American subjects (latane and Rodin, 1969) in the Two-Friend, the Two-Stranger and the Subject with Confederate Conditions in reporting the smoke.-
dc.format.extent594970 bytes-
dc.format.extent1099355 bytes-
dc.format.extent464857 bytes-
dc.format.extent1087457 bytes-
dc.format.extent762991 bytes-
dc.format.extent446585 bytes-
dc.format.extent522113 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectจิตสาธารณะ-
dc.titleผลยับยั้งพฤติกรรมขันอาสาของคนเมื่อยู่ต่อหน้าเพื่อน และคนแปลกหน้าen
dc.title.alternativeInhibiting effects of the presence of friends and strangers on bystander interventionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Soiraya_Si_front.pdf581.03 kBAdobe PDFView/Open
Soiraya_Si_ch1.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open
Soiraya_Si_ch2.pdf453.96 kBAdobe PDFView/Open
Soiraya_Si_ch3.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Soiraya_Si_ch4.pdf745.11 kBAdobe PDFView/Open
Soiraya_Si_ch5.pdf436.12 kBAdobe PDFView/Open
Soiraya_Si_back.pdf509.88 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.