Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26091
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิพันธ์ วิเชียรน้อย-
dc.contributor.authorอรอุมา ตันติสุริยานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-26T06:25:32Z-
dc.date.available2012-11-26T06:25:32Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741746318-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26091-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractศึกษาสภาพการของโรงงานและแรงงานภาคอุตสาหกรรมในอดีตถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2545) ศักยภาพและข้อจำกัดด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และอื่นๆ พร้อมเสนอแนวทางการพัฒนาชุมชนเมืองในจังหวัดชลบุรีเพื่อรองรับแรงงานภาคอุตสาหกรรม วิทยานิพนธ์นี้ให้ศึกษาทฤษฏี และแนวความคิดในเรื่องเกี่ยวกับแหล่งที่ตั้งอุตสาหกรรม ทฤษฏีขั้วการพัฒนา ทฤษฏีแหล่งกลาง แนวความคิดในการกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค แนวความคิดในการพัฒนาเศรษฐกิจของภาค ปัจจัยที่ก่อให้การเติบโตหรือ การพัฒนาของเมืองและภาค และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งโครงการ นโยบาย และแผนประเภทต่างๆ ในระดับภาคและประเทศที่เกี่ยวข้องหรือมีผลกระทบต่อการรองรับแรงงานภาคอุตสาหกรรม ทำการวิเคราะห์ศักยภาพทางเศรษฐกิจในสาขาการผลิตด้าน อุตสาหกรรมด้วยวิธีการหาค่า P-Shift, D-Shitt และ LQ รวมทั้งทำการสำรวจภาคสนามเพื่อให้ได้มาซึ่งบทบาทศักยภาพ และข้อจำกัดของชุมชนเมืองในการพัฒนาเพื่อรองรับแรงงานภาคอุตสาหกรรม จากการศึกษา พบว่า ตั้งแต่แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 3-8 โรงงาบอุตสาหกรรมในจังหวัดชลบุรีมีการเปิดกิจการมากที่ชุด ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 โดยเฉพาะใน พ.ศ. 2537 ซึ่งเป็นช่วงที่นโยบายและแผนที่เกี่ยวข้องเริ่มถูกนำมาปฏิบัติ สำหรับในสภาพปัจจุบัน พบว่า ชุมชนเมืองในอำเภอเมืองมีจำนวนโรงงานตั้งอยู่มากที่สุด โดยเฉพาะในเทศบาลตำบลบ้านสวน รองลงมาคือชุมชน เมืองในอำเภอศรีราชาและอำเภอบางละบุง โดยโรงงานประเภทอุตสาหกรรมอาหารและแปรรูปพืชผลทางการเกษตรมีบทบาทใน การรองรับแรงงานภาคอุตสาหกรรมในเขตชุมชนเมืองจังหวัดชลบุรีมากที่สุด เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่ตั้งอยู่ทั่วไปแทบทุกชุมชนเมืองและอำเภอ ยกเว้น ในอำเภอเกาะสีชังและกิ่งอำเภอเกาะจันทร์ รวมทั้งจังหวัดชลบุรียังมีพื้นที่การเกษตรที่สำคัญ ซึ่งเป็นแหล่งวัตถุดิบทางการเกษตรเพื่อรองรับการผลิตในอุตสาหกรรมอาหารและแปรรูปพืชผลทางการเกษตร สำหรับปัจจัยสำคัญในการเลือก ที่ตั้ง คือ เส้นทางการคมนาคมขนส่งที่เป็นโครงข่ายและเชื่อมโยงไปยังพื้นที่ต่างๆ ทั้งในและนอกจังหวัด โดยเฉพาะทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 3 ทำให้สามารถขนส่งวัตถุดิบมายังโรงงาน และกระจายสินค้าไปยังพื้นที่อื่นๆ หรือจังหวัดอื่นๆ ได้สะดวก รวมทั้งท่าเรือน้ำลึกแหลมฉบังซึ่งใช้ประโยชน์ในการขนส่งระดับนานาชาติและเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญในการดึงดูดการลงทุนในชุมชนเมือง แหลมฉบัง, เขตนิคมอุตสาหกรรมหรอที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้เมื่อเปรียบเทียบขนาดโรงงานตามขนาดแรงงาน พบว่า โรงงานที่มีขนาดแรงงาน 1 - 9 คนมีบทบาทในการรองรับแรงงานภาคอุตสาหกรรมในเขตชุมชนเมืองจังหวัดชลบุรีมากที่สุดโดยเฉพาะชุมชน เมืองในอำเภอเมือง รองลงมา คือ ชุมชนเมืองในอำเภอบ้านบึงและอำเภอพนัสนิคม ทางด้านแรงงานพบว่า จำนวนแรงงานภาคอุตสาหกรรมเพิ่มมากที่สุดใน พ.ศ. 2537 สอดคล้องกับจำนวนโรงงานและมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นทุกปี ยกเว้นในปี พ.ศ. 2543 ที่ลดลงเล็กน้อย โดยชุมชนเมืองในอำเภอศรีราชามีจำนวนแรงงาน ภาคอุตสาหกรรมมากทีสุด โดยเฉพาะในเทศบาลตำบลแหลมฉบัง รองลงมา คือ ชุมชนเมืองในอำเภอเมืองและอำเภอบางละมุง นอกจากนี้ยังเป็นแรงงานที่มีระดับการศึกษาต่ำและไรฝีมือ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานที่ย้ายมาจากภายในภาคตะวันออก รองลงมาคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สำหรับแนวทางในการพัฒนา พบว่า ชุมชนเมืองใน จ. ชลบุรี ยกเว้นในเขตอำเภอเมืองจำเป็นต้องเร่งปรับปรุงบริการทาง สังคมโดยเฉพาะการจัดสรรบุคคลากรทางด้านสาธารณสุข รวมทั้งปรับปรุงและขยายการให้บริการทางด้านโครงสร้างพื้นฐานอย่าง สม่ำเสมอและต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มโอกาสในการลงทุนจากนักลงทุนทั้งในและต่างประเทศ และรองรับแรงงานจากในและนอก ภาคตะวันออกที่จะเข้ามาทำงานเพิ่มขึ้นในอนาคต-
dc.description.abstractalternativeDuring the period 1970-2002 there was a marked increase in industrial in Chon Bun Province. The study attempts to studies the status of industries and industrial workers from the past to the present (2002). The potential and constrain of physical, economic and social to be examined. The recommendation of the development urban communities in accommodating industrial workers in Chon Buri Province is included. Thesis framework was integrating important datas : characteristics in physical, socio - economics. Shift - Share analysis and LQ to finding its loan and potential of manufacturing industrial origin in Chon Buri Province. The list of industries from DIW was used and elected for classify the location of industry in urban communities in Chon Buri Province. It does it by classified the industrial with number of worker employment About half of the industries were in the urban communities in Chon Buri Province. Most Foods and Agro Industries were located in urban communities in Chon Buri Province due to the plant areas in Chon Buri Province. The industrial employ 1-9 workers were the most industries in urban communities in Chon Buri Province. According to this study, it’s suggest that the local governments should to improve and provide infrastructures and public heath if the workers increase in the future.-
dc.format.extent4635138 bytes-
dc.format.extent1502607 bytes-
dc.format.extent24654311 bytes-
dc.format.extent16591792 bytes-
dc.format.extent27167302 bytes-
dc.format.extent1443388 bytes-
dc.format.extent4057806 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleบทบาทของชุมชนเมืองในการรองรับแรงงานภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดชลบุรีen
dc.title.alternativeThe roles of urban communities in accomodating industrial workers in Chon Buri provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการวางแผนภาคes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
On-Uma_to_front.pdf4.53 MBAdobe PDFView/Open
On-Uma_to_ch1.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open
On-Uma_to_ch2.pdf24.08 MBAdobe PDFView/Open
On-Uma_to_ch3.pdf16.2 MBAdobe PDFView/Open
On-Uma_to_ch4.pdf26.53 MBAdobe PDFView/Open
On-Uma_to_ch5.pdf1.41 MBAdobe PDFView/Open
On-Uma_to_back.pdf3.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.