Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26104
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภิญโญ สาธร-
dc.contributor.authorดุสิต บุณยากร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-26T06:45:12Z-
dc.date.available2012-11-26T06:45:12Z-
dc.date.issued2518-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26104-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.เพื่อศึกษาโครงสร้างของการบริหารภายในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดเทศบาลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2.เพื่อศึกษางานบริหารการศึกษาภายในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดเทศบาลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะในด้านความสัมพันธ์กับชุมชน งานวิชาการ งานบุคคล งานกิจการนักเรียน งานธุรการ การเงิน บริการ และ อื่น ๆ ในประเภทเดียวกัน 3.เพื่อทราบปัญหาเกี่ยวกับโครงสร้างของระบบบริหารภายในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดเทศบาลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และงานบริหารการศึกษาทั้ง 5 ประเภท ในโรงเรียนดังกล่าว วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษามี 3 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้บริหาร จำนวน 62 คน กลุ่มนักวิชาการ จำนวน 205 คน และกลุ่มประชาชน จำนวน 115 คน การรวบรวมข้อมูล ใช้การค้นคว้าจากเอกสารต่าง ๆ ทางราชการ ใช้แบบสอบถามบันทึกข้อมูลการสังเกตและสัมภาษณ์ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนประถมศึกษาของกรมสามัญศึกษา สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้วิธีการหาค่าร้อยละจากคำตอบแต่ละข้อ และทดสอบได-สแควร์ สรุปผลการวิจัย 1.โครงสร้างระบบการบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดเทศบาล ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยึดหลักการจัดโรงรียนแบบสายการบังคับบัญชา (Hierarchy) โดยมีโครงสร้างเป็นสายบังคับบัญชาสายเดียว (The line form of struchture) แต่ยังไม่ได้มีการปฏิบัติที่ถูกต้อบง น่าจะมีการประสานงานให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานย่อยภายในโรงเรียนให้มากยิ่งขึ้น 2.การปฏิบัติงานบริหารการศึกษาของผู้บริหารและนักวิชาการในด้านธุรการ การเงิน มีมากเป็นอันดับหนึ่ง ส่วนงานด้านบุคลากร ด้านวิชาการ ด้านกิจการนักเรียน และความสัมพันธ์กับชุมชน ทั้ง 2 ฝ่ายปฏิบัติงานยังอยู่ในเกณฑ์น้อย แต่ในทางตรงกันข้ามประชาชนได้ให้ความสนใจกับโรงเรียนในด้านบุคลากรมากที่สุด และมีความเห็นว่า โรงเรียนยังให้ความสนใจกับชุมชนน้อยเกินไป 3.การแสดงความคิดเห็นของผู้บริหารทั้ง 3 ประเภท และนักวิชาการทั้ง 2 ประเภท ในงานบริหารการศึกษาส่วนมากจะมีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน มีอยู่เพียงงานธุรการ และการเงินนั้นที่ทั้งผู้บริหาร นักวิชาการ แต่ละประเภทมีความคิดเห็นเหมือนกัน-
dc.description.abstractalternativeThe objective of the research. 1. To study the educational ddaministrative structure of the municipal elementary school in the north eastern region of Thailand. 2. To study the educational administrative tasks in the municipal elementary school in the north eastern region of Thailand. Especially, the school community relations, the academic administration, the personnel administration, the pupil personnel, the school business, finance and services and others tasks. 3. To know the problems about the administrative structure of municipal elementary school in the north eastern region of Thailand and the five educational administrative tasks in this kind of schools. How to make the research. Questionaires were administed to 62 administrators,205teachers and supervisors and also 115 people. Besides, studying many reports,and an observation and interview were also used in order to analyze the data. The research conclusion 1. It was found that the administrative struture in the municipal elementary school in the north eastern region of Thailand continues the performance by using the hierarchy system which there is only one line form of structure. However, it was not correctly performed, there should be the development of sound coordinating and relations among the personnel of different units within the schools by means of democratic approach. 2. The administrators', teachers and supervisors' performances in educational administrative tasks were concentrated on the school finance firstly. The personnel and the school community relations were less. On the other hand, people were interested in the personnel administration most, and thought that the school community relations was not important 3. The idea of the three kinds of administrators and the two kinds of teachers and supervisors in educational administration were different. Only the school business and finance were-the same-
dc.format.extent545877 bytes-
dc.format.extent813693 bytes-
dc.format.extent1200504 bytes-
dc.format.extent587538 bytes-
dc.format.extent3531029 bytes-
dc.format.extent999564 bytes-
dc.format.extent1983509 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการบริหารการศึกษา-
dc.subjectโรงเรียน -- การบริหาร-
dc.subjectโรงเรียนประถมศึกษา-
dc.titleงานบริหารการศึกษาโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดเทศบาล ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือen
dc.title.alternativeThe educational administrative tasks of municipal elementary schools in Thailand North Eastern regionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Dusit_Bo_front.pdf533.08 kBAdobe PDFView/Open
Dusit_Bo_ch1.pdf794.62 kBAdobe PDFView/Open
Dusit_Bo_ch2.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open
Dusit_Bo_ch3.pdf573.77 kBAdobe PDFView/Open
Dusit_Bo_ch4.pdf3.45 MBAdobe PDFView/Open
Dusit_Bo_ch5.pdf976.14 kBAdobe PDFView/Open
Dusit_Bo_back.pdf1.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.