Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/261
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุษบง ตันติวงศ์-
dc.contributor.advisorพระมหาเจิม สุวโจ-
dc.contributor.authorมานิตา ลีโทชวลิต, 2519--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-05T11:36:10Z-
dc.date.available2006-06-05T11:36:10Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741706138-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/261-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractวิเคราะห์นิทานชาดกที่ส่งเสริมสันติธรรมให้แก่เด็กปฐมวัย ในด้านการขจัดความขัดแย้ง โดยการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธี และ การดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างสงบ โดยศึกษานิบาตชาดกที่เป็นอรรถกถา จำนวน 547 เรื่อง ซึ่งคณะกรรมการอำนวยการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 50 ปี กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร 2540 ได้รวบรวมและเรียบเรียงเป็นนิทานร้อยแก้วแล้ว เกี่ยวกับเนื้อหาที่สอดคล้องกับสันติธรรม สำหรับเด็กปฐมวัยในนิทานชาดก โดยใช้เกณฑ์การวิเคราะห์สันติธรรมในนิทานชาดก และศึกษาวิธีการนำนิทานชาดกไปใช้ ในการส่งเสริมสันติธรรมให้แก่เด็กปฐมวัย โดยใช้ แบบสัมภาษณ์ และ แบบสังเกตพฤติกรรมการนำนิทานชาดกไปใช้ ผลการวิจัย 1.มีนิทานชาดกจำนวน 39 เรื่อง ที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับสันติธรรมสำหรับเด็กปฐมวัย โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ นิทานชาดกที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับสันติธรรม ด้านการละเว้นความชั่ว จำนวน 20 เรื่อง และ ด้านการทำความดี จำนวน 19 เรื่อง 2 นิทานชาดกสามารถนำไปใช้ในการส่งเสริมสันติธรรมสำหรับเด็กปฐมวัยได้ แต่จำเป็นต้องปรับเปลี่ยนการใช้ภาษาให้สอดคล้องกับพัฒนาการทางด้านภาษา และวิธีการนำไปใช้ต้องสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ที่เรียนรู้ผ่านการกระทำ และ การเลียนแบบ ดังนั้ผู้นำนิทานชาดกไปใช้ส่งเสริมสันติธรรมให้แก่เด็กปฐมวัย จึงจำเป็นต้องปรับแต่งภาษาในนิทานให้ง่ายขึ้น และสร้างบรรยากาศในการนำไปใช้ที่สงบ มีสมาธิ และ ยังต้องพัฒนาตนให้เป็นตัวแบบที่ดีให้แก่เด็กอีกด้วยen
dc.description.abstractalternativeTo analyze Jataka tales which promoted peace dhama for the young children in terms of peaceful conflict resolution and living together in harmony. Five hundred and forty seven Jataka tales printed by Crown Golden Jubilee of the King Committee, Department of Art, 1996, were selected by the analysis criteria of peace promoting for the young children. Teachers interviews and child observation were used to analyze the implementation guidelines of the Jataka tales. The finding were: 1. There were 39 Jataka tales concerning peace dhamma for the young children, 20 concerning refraining from misconduct and 19 concerning performing good conduct. 2. Jataka tales could be used to promote peace dhamma for young children but the language needed to be adjusted to their level of understanding, and the implementation needed to be developmentally appropriate to the young children who learn by doing and imitating. The teacher role models and peaceful environment were necessary. As role models of the young children, it was necessary for the teachers to developed their inner peace and provide peaceful classroom environment.en
dc.format.extent1663042 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.190-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectชาดก--ประวัติและวิจารณ์en
dc.subjectสันติภาพen
dc.subjectการศึกษาปฐมวัยen
dc.titleการวิเคราะห์นิทานชาดกที่ส่งเสริมสันติธรรมสำหรับเด็กปฐมวัยen
dc.title.alternativeAn analysis of Jataka tales promoting peace dhamma for the young childrenen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการศึกษาปฐมวัยen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.authorBoosbong.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.190-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Manita.pdf2.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.