Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26427
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPiyasan Praserthdam-
dc.contributor.advisorMinoru Terano-
dc.contributor.authorSupanan Patthamasang-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Engineering-
dc.date.accessioned2012-11-27T09:05:47Z-
dc.date.available2012-11-27T09:05:47Z-
dc.date.issued2011-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26427-
dc.descriptionThesis (D.Eng.)--Chulalongkorn University, 2011en
dc.description.abstractHeterogeneous Ziegler-Natta catalysts for ethylene polymerization were prepared with various support systems, MgCl₂, MgCl₂/SiO₂ and Mg(OEt)₂. The objectives are to improve the morphology of catalyst and to decrease the fragmentation of catalyst’s particle during catalyst preparation. For MgCl₂/TiCl4 and MgCl₂/SiO₂/TiCl4, the MgCl₂ support was prepared via recrystallization of anhydrous MgCl₂ in ethanol-hydrocarbon solution. The bi-support (MgCl₂/SiO₂) was prepared by impregnation of MgCl₂•nEtOH adduct on SiO₂ surface in heptane media. After that, reaction with TiCl₄ was performed to obtain the catalyst. In the case of Mg(OEt)₂/TiCl₄, the MgCl₂ support was prepared by chemical reaction between Mg(OEt)₂ and TiCl4. The result shows that using of SiO₂ in bi-support system could improve morphology of MgCl₂-based catalyst with spherical shape. Moreover, SiO₂ could reduce the effect of ethanol, which is the key parameter to control the morphology and activity of MgCl₂/TiCl₄ catalyst. Hydrogen response in ethylene polymerization and stability of catalyst were also studied. For Mg(OEt)₂/TiCl₄ system, the results show that the morphology of catalyst replicated the morphology of Mg(OEt)₂ precursor and highly catalytic activity was achieved. Additional, the effect of internal electron donor and catalyst’s preparation conditions and catalyst’s performance in ethylene and propylene polymerization were also studied.en
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้ได้ศึกษาตัวเร่งปฏิกิริยาซิกเลอร์-แนตตาที่มีระบบตัวรองรับต่างกัน สำหรับใช้ในเอทิลีนพอลิเมอไรเซชั่น ซึ่งมีด้วยกันสามระบบ คือ MgCl₂/TiCl4 MgCl₂/SiO₂/TiCl4 และMg(OEt₂)/TiCl4 โดยมีจุดประสงค์เพื่อปรับปรุงสัณฐานของตัวเร่งปฏิกิริยาให้มีความกลมและแข็งแรงขึ้น เพื่อลดการแตกหักของอนุภาคตัวเร่งปฏิกิริยาขณะทำการสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยา การสังเคราะห์ตัวรองรับ MgCl₂ ใช้วิธีการตกผลึก (Recrystallization) MgCl₂ ในสารละลายเอทานอลในไฮโดรคาร์บอน ในระบบตัวรองรับผสมจะเพิ่มขั้นตอนการเคลือบฝัง MgCl₂•nEtOH ลงบนผิว SiO₂ ในเฮปเทนซึ่งเป็นตัวกลาง จากนั้นตัวรองรับจะทำปฏิกิริยากับ TiCl₄ ต่อไป การเตรียมตัวรองรับ MgCl₂ ในตัวเร่งปฏิกิริยา Mg(OEt₂)/TiCl₄ ใช้วิธีการทำปฏิกิริยาทางเคมีระหว่าง Mg(OEt₂) และ TiCl₄ จากผลการศึกษาพบว่าการใช้ SiO₂ เพื่อให้เกิดเป็นตัวรองรับผสม สามารถช่วยให้ตัวเร่งปฏิกิริยามีสัณฐานที่กลมและแข็งแรงขึ้น ซึ่งสัณฐานของตัวเร่งปฏิกิริยาขึ้นอยู่กับสัณฐานของ SiO₂ ที่ใช้ และการใช้ SiO₂ สามารถช่วยลดผลกระทบจากการใช้เอทานอล ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อสัณฐานและความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยา MgCl₂/TiCl₄ และได้ทำการศึกษาคุณสมบัติของตัวเร่งปฏิกิริยาในด้านอื่นๆ เช่น การตอบสนองต่อไฮโดรเจนในการทำเอทิลีนพอลิเมอไรเซชั่นและความทนทานต่อการเสื่อมสภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาด้วย ในตัวเร่งปฏิกิริยา Mg(OEt₂)/TiCl4 พบว่าสัณฐานของ ตัวเร่งปฏิกิริยาที่ได้ มีรูปร่างจำลองจาก Mg(OEt₂) ที่เป็นสารตั้งต้นและตัวเร่งปฏิกิริยาที่สังเคราะห์ขึ้นมีความว่องไวสูง ตัวเร่งปฏิกิริยาระบบนี้ยังได้ทำการศึกษาผลของการเติม internal electron donor และสภาวะที่ใช้ในการสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีต่อการเกิดโครงสร้างของ MgCl₂ รวมถึงได้ทำการทดลองใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาทั้งในเอทิลีนและโพรพิลีนพอลิเมอไรเซชั่นด้วยen
dc.format.extent5253415 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1732-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectCatalystsen
dc.subjectZiegler-Natta catalysts -- Synthesisen
dc.subjectPolymerizationen
dc.titleSynthesis and characterization of ziegler-natta catalyst with various support systemsen
dc.title.alternativeการสังเคราะห์และวิเคราะห์คุณลักษณะของตัวเร่งปฏิกิริยาซีเกลอร์–นัตตาที่มีระบบตัวรองรับต่างกันen
dc.typeThesises
dc.degree.nameDoctor of Engineeringes
dc.degree.levelDoctoral Degreees
dc.degree.disciplineChemical Engineeringes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorpiyasan.p@chula.ac.th-
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1732-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
supanan_pa.pdf5.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.