Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26855
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวงศ์พันธ์ ลิมปเสนีย์-
dc.contributor.authorฌานี วงศ์วุฑฒิ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-29T04:20:25Z-
dc.date.available2012-11-29T04:20:25Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26855-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ประสิทธิภาพการกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์และก๊าซแอมโมเนียโดยใช้เครื่องกรองชีวภาพที่มีปุ๋ยหมักเป็นวัสดุตัวกลางหลักผสมกับวัสดุตัวกลางเสริมและตะกอนจุลินทรีย์ในอัตราส่วน ปุ๋ยหมัก : ปุ๋ยคอก : เศษไม้ : ตะกอนจุลินทรีย์ 60 : 20 : 10 : 10 โดยปริมาตร ตามลำดับ แบ่งการทดลองเป็น 3 การทดลอง ได้แก่ การทดลองการกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ก๊าซแอมโมเนีย และก๊าซแอมโมเนียร่วมกับก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ โดยแปรผันความเข้มข้นก๊าซมลพิษทั้ง 3 การทดลองในช่วง 5 - 200 ส่วนในล้านส่วน ที่เวลากักพัก 60 วินาที พบว่าประสิทธิภาพการกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์สูงสุดจากการทดลองการกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ เท่ากับ 100 เปอร์เซ็นต์ ที่ความสูงตัวกลาง 0.8 เมตร ประสิทธิภาพการกำจัดก๊าซแอมโมเนียสูงสุด เท่ากับ 99 เปอร์เซ็นต์ ที่ความสูงตัวกลาง 0.4 เมตร และประสิทธิภาพการกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ร่วมกับก๊าซแอมโมเนีย เท่ากับ 99 เปอร์เซ็นต์ ที่ความสูงตัวกลาง 0.8 เมตร เวลากักพักที่เหมาะสมในการกำจัดก๊าซแอมโมเนียร่วมกับก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ที่ความเข้มข้นก๊าซแอมโมเนียและก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ 200 ส่วนในล้านส่วน คือ 30 วินาที นอกจากนี้เมื่อแปรผันความเข้มข้นก๊าซแอมโมเนียต่อความเข้มข้นก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์เข้าระบบในอัตราส่วน 100 : 100, 200 : 100 และ 100 : 200 ส่วนในล้านส่วน พบว่าที่ความเข้มข้นก๊าซแอมโมเนียเท่ากับความเข้มข้นก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ประสิทธิภาพการกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์และก๊าซแอมโมเนียมีค่า 94 และ 98 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ แต่ที่ความเข้มข้นก๊าซแอมโมเนียมากกว่าความเข้มข้น ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์และที่ความเข้มข้นก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์มากกว่าความเข้มข้นก๊าซแอมโมเนีย 2 เท่า ส่งผลให้ประสิทธิภาพการกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ลดลงเหลือ 86 และ 80 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ในขณะที่ประสิทธิภาพการกำจัดก๊าซแอมโมเนียยังอยู่ในช่วง 97–98 เปอร์เซ็นต์en
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the removal efficiency of hydrogen sulfide and ammonia using a compost-based biofilter mixed with organic fertilizer : wood chip : biological sludge at ratio of 60 : 10 : 20 : 10 by volume. The experiment was divided into 3 sets which were (1) removal of hydrogen sulfide, (2) removal of ammonia and (3) simultaneous removal of ammonia and hydrogen sulfide. The gases concentrations were varied from 5–200 ppm using gas retention time 60 s. The results indicated that the maximum removal efficiency of hydrogen sulfide was 100 percent at bed height 0.8 m. The maximum removal efficiency of ammonia was 99 percent at bed height 0.4 m. And the maximum removal efficiency of hydrogen sulfide together with ammonia was 99 percent at bed height 0.8 m. The appropriate retention time for removing ammonia and hydrogen sulfide together was 30 s. Furthermore, when inlet concentrations of ammonia and hydrogen sulfide were varied at ratio of 100 : 100, 200 : 100 and 100 : 200 ppm, the results showed that when ammonia and hydrogen sulfide were at the same concentration, the removal efficiency of hydrogen sulfide and ammonia were 94 and 98 percent, respectively. However, at concentration ratio of ammonia 2 times higher than hydrogen sulfide and hydrogen sulfide 2 times higher than ammonia, the removal efficiency of hydrogen sulfide decreased to 86 and 80 percent, respectively, while removal efficiency of ammonia remained at 97–98 percent.en
dc.format.extent4150378 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2006-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectไฮโดรเจนซัลไฟด์en
dc.subjectแอมโมเนียen
dc.subjectเครื่องกรองอากาศen
dc.titleการกำจัดก๊าซแอมโมเนียและก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ในอากาศพร้อมกันโดยใช้เครื่องกรองชีวภาพชนิดปุ๋ยหมักen
dc.title.alternativeSimultaneous removal of ammonia and hydrogen sulfide in air stream using a compost-based biofilteren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorWongpun.L@eng.chula.ac.th, Wongpun.L@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.2006-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chanee_wo.pdf4.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.