Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27212
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพรัช สายเชื้อ
dc.contributor.advisorสิริวัฒน์ วงษ์ศิริ
dc.contributor.authorวีรยุทธ มีพรหม
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-30T07:12:30Z
dc.date.available2012-11-30T07:12:30Z
dc.date.issued2530
dc.identifier.isbn9745684503
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27212
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530en
dc.description.abstractศึกษาความเป็นพิษของสารฆ่าแมลง 3 ชนิด คือ คาร์บาริล มาลาไธออน และเปอร์มีทรินต่อผึ้งพันธุ์และผึ้งโพรงที่อุณหภูมิ 18๐C, 25๐C และ 32๐C โดยวิธีหยดสารลงบนตัวผึ้งและวิธีผสมสารกับน้ำเชื่อมให้ผึ้งกิน และประเมินความเป็นพิษด้วยค่า LD50 ซึ่งวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมโปรบิทผลการวิเคราะห์มีดังนี้ โดยวิธีหยดสารลงบนตัวผึ้ง ในผึ้งพันธุ์วัดค่า LD50 (ตัวเลขในวงเล็บคือพิสัยต่ำสุดและสูงสุดที่ระดับความเชื่อมั่น 95%) ของคาร์บาริลได้เท่ากับ 0.16 (0.13-0.20), 0.24 (0.14-0.33) และ 0.22 (0.18-0.28) ของมาลาไธออนเท่ากับ 0.092 (0.083-0.100), 0.100 (0.082-0.120) และ 0.180 (0.170-0.190) และของเปอร์มีทรินเท่ากับ 0.0095 (0.0069-0.0120), 0.023 (0.020-0.026) และ 0.130 (0.100-0.160) ไมโครกรัม/ผึ้งหนึ่งตัว ที่อุณหภูมิ 18๐C, 25๐C และ 32๐C ตามลำดับ สำหรับในผึ้งโพรงซึ่งทดลองในสภาวะแวดล้อมอย่างเดียวกัน วัดค่า LD50 ของคาร์บาริลได้เท่ากับ 0.052 (0.031-0.100), 0.100 (0.089-0.120) และ 0.090 (0.078-0.100) ของมาลาไธออนเท่ากับ 0.032 (0.021-0.047), 0.072 (0.066-0.078) และ 0.064 (0.053-0.080) และของเปอร์มีทรินเท่ากับ 0.015 (0.013-0.016), 0.43 (0.039-0.048) และ 0.130 (0.110-0.160) ไมโครกรัม/ผึ้งหนึ่งตัว โดยวิธีผสมสารกับน้ำเชื่อมให้ผึ้งกิน ในผึ้งพันธุ์วัดค่า LD50 ของคาร์บาริลได้เท่ากับ 0.054 (0.44-0.064), 0.220 (0.160-0.270) และ 0.500 (0.420-0.600) ของมาลาไธออนเท่ากับ 0.19 (0.15-0.23), 1.20 (0.92-1.80) และ 0.44 (0.34-0.54) และของเปอร์มีทรินเท่ากับ 0.19 (0.15-0.25), 1.4 (1.0-2.2) และ 1.2 (1.0-1.3) ไมโครกรัม/ผึ้งหนึ่งตัว ที่อุณหภูมิ 18๐C, 25๐C และ 32๐C ตามลำดับ สำหรับในผึ้งโพรงซึ่งทดลองในสภาวะแวดล้อมอย่างเดียวกัน วัดค่า LD50 ของคาร์บาริลได้เท่ากับ 0.072 (0.067-0.079), 0.260 (0.210-0.310) และ 0.490 (0.310-0.740) ของมาลาไธออนเท่ากับ 0.20 (0.17-0.22), 0.48 (0.40-0.55) และ 0.73 (0.62-0.93) และของเปอร์มีทรินเท่ากับ 0.067 (0.055-0.080), 0.73 (0.600-0.980) และ 0.350 (0.260-0.420) ไมโครกรัม/ผึ้งหนึ่งตัว การวิจัยครั้งนี้สรุปผลได้ว่า ความแตกต่างของความเป็นพิษของสารฆ่าแมลงทั้ง 3 ชนิดขึ้นอยู่กับระดับอุณหภูมิ วิธีการทดลอง และชนิดของผึ้ง กล่าวคือ ที่อุณหภูมิต่ำจะมีพิษสูงกว่าที่อุณหภูมิสูง ยกเว้น คาร์บาริลที่ทดลองโดยวิธีหยดสารลงบนตัวผึ้ง ซึ่งไม่แสดงความแตกต่างของพิษอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p > 0.05) ที่ทั้ง 3 ระดับอุณหภูมิ และความเป็นพิษโดยวิธีหยดสารลงบนตัวผึ้งจะสูงกว่าวิธีผสมสารกับน้ำเชื่อมให้ผึ้งกิน ยกเว้น คาร์บาริลซึ่งแวดงความเป็นพิษต่อผึ้งพันธุ์ที่ 18๐C โดยวิธีผสมสารกับน้ำเชื่อมให้ผึ้งกินจะสูงกว่าวิธีหยดสารลงบนตัวผึ้ง โดยวิธีหยดสารลงบนตัวผึ้งพบว่า ความเป็นพิษของคาร์บาริลและมาลาไธออนต่อผึ้งโพรงจะสูงกว่าผึ้งพันธุ์ที่ทุกระดับอุณหภูมิ แต่สำหรับเปอร์มีทรินที่อุณหภูมิ 18๐C และ 25๐C ความเป็นพิษในผึ้งพันธุ์จะสูงกว่าผึ้งโพรง และโดยวิธีผสมสารกับน้ำเชื่อมให้ผึ้งกิน เปอร์มีทรินที่ทุกระดับอุณหภูมิแสดงความเป็นพิษต่อผึ้งโพรงสูงกว่าผึ้งพันธุ์ มาลาไธออนที่อุณหภูมิ 25๐C ความเป็นพิษในผึ้งโพรงสูงกว่าผึ้งพันธุ์แต่ที่ 32๐C ความเป็นพิษในผึ้งพันธุ์สูงกว่าผึ้งโพรง สำหรับคาร์บาริลที่อุณหภูมิ 18๐C ความเป็นพิษในผึ้งพันธุ์จะสูงกว่าผึ้งโพรง
dc.description.abstractalternativeThe toxicity of three insecticides, carbaryl, malathion and permethrin, to the European honey bee (Apis mellifera L.) and the Asian hive bee (Apis cerana F.) were studied at 18๐C, 25๐C and 32๐C by using the topical application and feeling method. The results of LD50 were evaluated and analysed by probit analysis program. The topical application method was conducted at 18๐C, 25๐C and 32๐C showed that the LD50 (numbers in parenthesis are lower-upper range, at significant level 95%) of carbaryl were 0.16 (0.13-0.20), 0.24 (0.14-0.33) and 0.22 (0.18-0.28); of malathion were 0.092 (0.083-0.100), 0.100 (0.082-0.120) and 0.180 (0.170-0.190); of permethrin were 0.0095 (0.0069-0.0120), 0.023 (0.020-0.026) and 0.130 (0.100-0.160) μg/bee respectively, in the European honey bee. Under these particular circumstances in the Asian hive bee, The LD50 were 0.052 (0.031-0.100), 0.100 (0.089-0.120) and 0.090 (0.078-0.100) μg/bee for carbaryl; 0.032 (0.021-0.047), 0.072 (0.066-0.078) and 0.064 (0.053-0.080) μg/bee for malathion; 0.015 (0.013-0.016), 0.043 (0.039-0.048) and 0.130 (0.110-0.160) μg/bee for permethrin. The feeding method was conducted at 18๐C, 25๐C and 32๐C showed that the LD50 of carbaryl were 0.054 (0.044-0.064), 0.220 (0.160-0.270) and 0.500 (0.420-0.600); of malathion were 0.19 (0.15-0.23), 1.20 (0.92-1.80) and 0.44 (0.34-0.54); of permethrin were 0.19 (0.15-0.25), 1.40 (1.0-2.2) and 1.20 (1.0-1.3) μg/bee, respectively, in the European honey bee. The Asian hive bee had the LD50 by feeding method at these temperatures as follows: 0.072 (0.067-0.079), 0.260 (0.210-0.310) and 0.490 (0.310-0.740) μg/bee for carbaryl; 0.20 (0.17-0.22), 0.48 (0.40-0.55) and 0.73 (0.62-0.93) μg/bee for malathion; 0.067 (0.055-0.080), 0.730 (0.600-0.980) and 0.350 (0.260-0.420) μg/bee for permethrin. This research could be concluded that the toxicity of those three insecticides to the two species of Apis was dependent on the temperature, the application method as well as the specific differences of the species. Almost at low temperatures, the toxicity was higher than at high temperatures, but only the carbaryl with the topical application shown no significant differences of toxicity to both species of bees. Likewise, the effect of the topical application was more effective compare to the feeding method, but the exception was the carbaryl that shown higher toxicity in the feeding method to the European honey bee. When topically applied with carbaryl and malathion, the two insecticides were more toxic to the Asian hive bee than the European honey bee whereas permethrin was more toxic to the European honey bee. The feeding method; permethrin was more toxic to the Asian hive bee than the European honey bee at these temperatures; malathion was more toxic to the Asian hive bee than the European honey bee at 25๐C, but at 32๐C the toxicity was more effective to the European honey bee at 25๐C, but at 32๐C the toxicity was more effective to the European honey bee; carbaryl, at 18๐C, was more toxic to the European honey bee than the Asian hive bee.
dc.format.extent3737507 bytes
dc.format.extent847875 bytes
dc.format.extent4896211 bytes
dc.format.extent3923621 bytes
dc.format.extent6425466 bytes
dc.format.extent2793533 bytes
dc.format.extent1408805 bytes
dc.format.extent22679540 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลของอุณหภูมิต่อความเป็นพิษของสารฆ่าแมลงบางชนิดต่อผึ้งพันธุ์ (Apis mellifera L.) และผึ้งโพรง (Apis cerane F.)en
dc.title.alternativeEffect of temperature on toxicitys of some insecticides on the European honey bee (Apis mellerera L.) and the aaian hive bee (Apis cerana F.)en
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineชีวเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Weerayute_me_front.pdf3.65 MBAdobe PDFView/Open
Weerayute_me_ch1.pdf828 kBAdobe PDFView/Open
Weerayute_me_ch2.pdf4.78 MBAdobe PDFView/Open
Weerayute_me_ch3.pdf3.83 MBAdobe PDFView/Open
Weerayute_me_ch4.pdf6.27 MBAdobe PDFView/Open
Weerayute_me_ch5.pdf2.73 MBAdobe PDFView/Open
Weerayute_me_ch6.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open
Weerayute_me_back.pdf22.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.