Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27809
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรุฬห์ ลีลาพฤทธิ์-
dc.contributor.authorเอกรินทร์ นิ่มรัตนสิงห์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-12-16T08:59:06Z-
dc.date.available2012-12-16T08:59:06Z-
dc.date.issued2520-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27809-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2520en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างบทเรียนสไลด์เทปเสียงแบบโปรแกรม และเพื่อเปรียบเทียบผลการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไปเรื่อง เครื่องบิน เป็นรายบุคคลโดยใช้สไลด์เทปเสียงกับผลการสอนแบบบรรยายในชั้นเรียนตามปกติ วิธีดำเนินการวิจัย ทดลองสอนวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไปเรื่องเครื่องบินกับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา วิทยาลัยครูอุบลราชธานี ปีการศึกษา 2519 จำนวน 2 กลุ่ม กลุ่มทดลองสอนเป็นรายบุคคลโดยใช้สไลด์เทปเสียง กลุ่มควบคุมสอนแบบบรรยายตามปกติ ต่อมาอีก 4 สัปดาห์ หลังจากการทดสอบครั้งแรกมีการทดสอบอีกครั้งหนึ่ง เพื่อวัดความคงทนในการจดจำและความเข้าใจในเนื้อหา แล้วนำข้อมูลที่ได้มาเปรียบเทียบหาความแตกต่างของความมีนัยสำคัญ ผลของการวิจัย ผลการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไปเรื่องเครื่องบิน เป็นรายบุคคลโดยใช้สไลด์เทปเสียงกับการสอนแบบบรรยายไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ แต่สไลด์เทปเสียงมีส่วนช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจและจดจำเนื้อหาอย่างเป็นระบบมากกว่า ข้อเสนอแนะ ควรที่จะมีการสนับสนุนในการใช้สไลด์เทปเสียง ให้มีส่วนช่วยในการสอนเป็นรายบุคคลในวิชาต่างๆ และควรทำการวิจัยให้กว้างขวางในการใช้สอนวิชาอื่นอีก
dc.description.abstractalternativePurpose : To develop programmed synchronized slide tape, for a general science lesson on the aircraft. To compare the effectiveness of synchronized slide tape used for individualized study with the conventional lecturing method. Procedure : The subject used in this study were 2 groups of Certificate of Education students at Ubon Teacher College. The experimental group usedsynchronized slide tape, individually. The control group were taught by the conventional method of lecturing. At the end of the lesson both groups were tested. Four weeks later they were re-tested to measure their understanding and retention of the subject matter. The data was gathered for a statistical analysis. Results : The finding reveal that there is no significant difference between the two groups, but the control group evidences a more systematic understanding and retention. Suggestion : The use of synchronized slide tape for individualized study should be encouraged and investigated further in other subjects.
dc.format.extent364379 bytes-
dc.format.extent676119 bytes-
dc.format.extent341630 bytes-
dc.format.extent388889 bytes-
dc.format.extent268177 bytes-
dc.format.extent2409433 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมสื่อประสมเรื่อง "เครื่องบิน" สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาen
dc.title.alternativeConstruction of multi-media programmed in subject aircraft for teacher training studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Egkarin_Ni_front.pdf355.84 kBAdobe PDFView/Open
Egkarin_Ni_ch1.pdf660.27 kBAdobe PDFView/Open
Egkarin_Ni_ch2.pdf333.62 kBAdobe PDFView/Open
Egkarin_Ni_ch3.pdf379.77 kBAdobe PDFView/Open
Egkarin_Ni_ch4.pdf261.89 kBAdobe PDFView/Open
Egkarin_Ni_back.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.