Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27813
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประพัฒน์ ลักษณพิสุทธ์
dc.contributor.authorเอกริน อิสสระสิทธิภาพ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-12-16T09:22:58Z
dc.date.available2012-12-16T09:22:58Z
dc.date.issued2529
dc.identifier.isbn9745667226
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27813
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถทางกลไกของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4, 5 และ 6 ของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบทดสอบความสามารถทางกลไกที่ผู้วิจัยปรับปรุงใหม่ ซึ่งมีความตรงตามเนื้อหา โดยได้รับความเห็นชอบจากผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน และมีค่าความเที่ยงของแบบทดสอบเท่ากับ 0.88 ประกอบด้วยรายการทดสอบ ดังนี้ คือ ยืนกระโดดไกล กระโดดไป-กลับด้านข้าง ขว้างลูกซอฟท์บอลไกล และวิ่ง 5 นาที จำนวนกลุ่มตัวอย่างสุ่มมาจากโรงเรียนในเขตต่างๆ 24 เขตๆ ละ 1 โรงเรียน โรงเรียนละ 60 คน เป็นนักเรียนชายและหญิง ชั้นละ 10 คน รวมทั้งสิ้น 1,440 คน นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แปลงคะแนนดิบ เป็นคะแนนมาตรฐาน “ที” หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แห่งความเที่ยงของแบบทดสอบโดยวิธีของเพียร์สัน วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทางและเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรายคู่ โดยวิธีของเชฟเฟ ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. นักเรียนชาย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีค่าเฉลี่ยความสามารถทางกลไก ดังนี้ ยืนกระโดดไกล 161.21 เซนติเมตร กระโดดไป-กลับด้านข้าง 34.48 ครั้ง ขว้างลูกซอฟท์บอลไกล 20.06 เมตร วิ่ง 5 นาที 931.92 เมตร และคะแนนความสามารถทางกลไกรวม 50.25 2. นักเรียนหญิง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีค่าเฉลี่ยความสามารถทางกลไก ดังนี้ ยืนกระโดดไกล 146.00 เซนติเมตร กระโดดไป-กลับด้านข้าง 34.70 ครั้ง ขว้างลูกซอฟท์บอลไกล 13.46 เมตร วิ่ง 5 นาที 888.85 เมตร และคะแนนความสามารถทางกลไกรวม 45.37 3. นักเรียนชาย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีค่าเฉลี่ยความสามารถทางกลไก ดังนี้ ยืนกระโดดไกล 167.39 เซนติเมตร กระโดดไป-กลับด้านข้าง 36.46 ครั้ง ขว้างลูกซอฟท์บอลไกล 22.95 เมตร วิ่ง 5 นาที 928.94 เมตร และคะแนนความสามารถทางกลไกรวม 53.05 4.นักเรียนหญิง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีค่าเฉลี่ยความสามารถทางกลไก ดังนี้ ยืนกระโดดไกล 150.18เซนติเมตร กระโดดไป-กลับด้านข้าง 35.11ครั้ง ขว้างลูกซอฟท์บอลไกล 14.42 เมตร วิ่ง 5 นาที 866.97เมตร และคะแนนความสามารถทางกลไกรวม 46.50 5. นักเรียนชาย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเฉลี่ยความสามารถทางกลไก ดังนี้ ยืนกระโดดไกล 180.52เซนติเมตร กระโดดไป-กลับด้านข้าง 37.79 ครั้ง ขว้างลูกซอฟท์บอลไกล 25.95 เมตร วิ่ง 5 นาที 977.09เมตร และคะแนนความสามารถทางกลไกรวม 57.20 6 นักเรียนหญิง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเฉลี่ยความสามารถทางกลไก ดังนี้ ยืนกระโดดไกล 155.47 เซนติเมตร กระโดดไป-กลับด้านข้าง 36.30 ครั้ง ขว้างลูกซอฟท์บอลไกล 16.59เมตร วิ่ง 5 นาที 846.73เมตร และคะแนนความสามารถทางกลไกรวม 48.07 7. ความสามารถทางกลไกรวม ของนักเรียนชาย ดีกว่านักเรียนหญิงอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 8. ความสามารถทางกลไกรวม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ดีกว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ 5 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 และความสามารถทางกลไกรวมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ดีกว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 9. ความสามารถทางกลไกรวม ของนักเรียนหญิง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ 5 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ส่วนคู่อื่นๆ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study and to compare the motor ability of the Prathom Suksa four , five and six students in elementary schools under the jurisdiction of the Bangkok Metropolitan Administration. This motor ability test which adjusted by the researcher had the content validity and the reliability of 0.88. The motor ability test contained of the standing broad jump, the side step, the softball throw and the 5 minutes distance run. The samples were randomly selected from the schools of twenty-four zones. There were sixty students in each school. The total amount of students were one thousand four hundred and forty students. The obtained data were computed into means , standard deviation , T-scores, Pearson’s Product – Moment Correlation Coefficients. The Two-way Analysis of Variance and The Scheffe’s Test were also employed to determine the significant difference. The results were as follow :- 1. The means of the Prathom Suksa four boy students’ motor ability were 161.21 centimetres for the standing broad jump, 34.48 repetitions for the side step, 20.06 metres for the softball throw, 931.92metres for the five minutes distance run and 50.25 for the total motor ability. 2. The means of the Prathom Suksa four girl students’ motor ability were 146.00centimetres for the standing broad jump, 34.70 repetitions for the side step, 13.46 metres for the softball throw, 888.85 metres for the five minutes distance run and 45.37 for the total motor ability. 3. The means of the Prathom Suksa five boy students’ motor ability were 167.39 centimetres for the standing broad jump, 36.46 repetitions for the side step, 22.95metres for the softball throw, 928.94metres for the five minutes distance run and 53.05 for the total motor ability. 4. The means of the Prathom Suksa five girl students’ motor ability were 150.18 centimetres for the standing broad jump, 35.11 repetitions for the side step, 14.42metres for the softball throw, 866.97metres for the five minutes distance run and 46.05 for the total motor ability. 5. The means of the Prathom Suksa six boy students’ motor ability were 180.52 centimetres for the standing broad jump, 37.79 repetitions for the side step, 25.95 metres for the softball throw, 977.09 metres for the five minutes distance run and 57.20 for the total motor ability. 6. The means of the Prathom Suksa six girl students’ motor ability were 155.47centimetres for the standing broad jump, 36.30 repetitions for the side step, 16.59 metres for the softball throw, 864.73 metres for the five minutes distance run and 48.07 for the total motor ability. 7. Boy students had better the total motor ability than girl students with significantly at the .01 level. 8. The Prathom Suksa six students had better the total motor ability than the Prathom Suksa four students and the Prathom Suksa five students with significantly at the .01 level. The Prathom Suksa five students had better the total motor ability than the Prathom Suksa four students with significantly at the .01 level. 9. There was no significant difference at the .01 level of the total motor ability between the Prathom Suksa four girl students and the Prathom Suksa five girl students. There were significant differences at the .01 level of the total motor ability of the others.
dc.format.extent536602 bytes
dc.format.extent416821 bytes
dc.format.extent553105 bytes
dc.format.extent291174 bytes
dc.format.extent931287 bytes
dc.format.extent370883 bytes
dc.format.extent742460 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleความสามารถทางกลไกของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4, 5 และ 6 ของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeThe motor ability of prathom suksa four, five and six students in elementary schools under the jurisdiction of the Bangkok metropolitan adminstrationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ekarin_Is_front.pdf524.03 kBAdobe PDFView/Open
Ekarin_Is_ch1.pdf407.05 kBAdobe PDFView/Open
Ekarin_Is_ch2.pdf540.14 kBAdobe PDFView/Open
Ekarin_Is_ch3.pdf284.35 kBAdobe PDFView/Open
Ekarin_Is_ch4.pdf909.46 kBAdobe PDFView/Open
Ekarin_Is_ch5.pdf362.19 kBAdobe PDFView/Open
Ekarin_Is_back.pdf725.06 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.