Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28107
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขจร ตีรณธนากุล-
dc.contributor.authorจีราลักษณ์ ตันฑ์พรชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-12-25T03:44:56Z-
dc.date.available2012-12-25T03:44:56Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28107-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractวิธีการศึกษา : การศึกษาวิจัยทดลองทางคลินิกในผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิตร่วมกับภาวะไตวายฉับพลันทั้งหมด 15 ราย เปรียบเทียบประสิทธิภาพการขจัดสารไซโตคายน์ interleukin 6 (IL-6) ระหว่าง HCO dialyzer และตัวกรอง HF dialyzer ในเทคนิคการฟอกเลือด SLED-f รวมทั้งปริมาณร้อยละการลดลงของสารอัลบูมินในเลือด ปริมาณสารอัลบูมินที่เสียในน้ำยาฟอกเลือด และอุบัติการณ์ความดันโลหิตต่ำขณะฟอกเลือด ผลการศึกษา : ผู้ร่วมวิจัยในกลุ่ม HCO-SLED-f มีค่ามัฐยฐานอายุน้อยกว่า [85 ปี (65.0-88.0) vs. 70 ปี (46.5-75.3) p=0.042] และมีจำนวนอวัยะที่ล้มเหลวน้อยกว่า [3 อวัยวะ (2-4) vs. 4 อวัยวะ (3-5) p=0.042] เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่ม HF-SLED-f แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การฟอกเลือดด้วยเทคนิค HCO-SLED-f มีอัตราการขจัดสารไซโตคายน์ IL-6 ในเลือด และร้อยละการลดลงของสารไซโตคายน์ IL-6 ในเลือด ไม่แตกต่างกับเทคนิค HF-SLED-f แต่พบการเสียสารอัลบูมินในน้ำยาฟอกเลือดในการฟอกเลือดด้วยเทคนิค HCO-SLED-f มากกว่า HF-SLED-f อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ปริมาณสารอัลบูมินที่เสียในน้ำยาฟอกเลือด 4.72 กรัมต่อการฟอกเลือดหนึ่งรอบของเทคนิค HCO-SLED-f ในระยะเวลาหกชั่วโมง แต่อย่างไรเมื่อติดตามวัดระดับสารอัลบูมินในเลือดพบว่าร้อยละการลดลงของ albumin ภายหลังการฟอกเลือด SLED-f ระหว่างสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน ดังแสดงในตาราง เราพบอุบัติการณ์ของความดันโลหิตต่ำขณะฟอกเลือด HCO-SLED-f ร้อยละ 50 และ HF-SLED-f ร้อยละ 42.3 ไม่แตกกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างสองกลุ่ม สรุป : การฟอกเลือดด้วยเทคนิค HCO-SLED-f มีแนวโน้มว่าสามารถขจัดสารไซโตคายน์ IL-6 ในเลือดได้มากกว่า HF-SLED-f โดยที่มีการเสียสารอัลบูมินในน้ำยาฟอกเลือดจำนวน 4.72 กรัมในการฟอกเลือดนานหกชั่วโมง ดังนั้นเทคนิคนี้จึงมีเพียงแนวโน้มว่าน่าจะมีประสิทธิภาพและปลอดภัย แต่เนื่องจากการศึกษานี้มีขนาดเล็ก ต้องรอการศึกษาขนาดใหญ่ขึ้นเพื่อยืนยันประสิทธิภาพในการนำมาใช้ในการรักษาภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิตร่วมกับไตวายฉับพลันen
dc.description.abstractalternativeBackground: Hypercytokinemia plays a central role in the pathogenesis and is related to the high mortality in sepsis related acute kidney injury (S-AKI). Sustained low efficiency diafiltration (SLED-f) using traditional high-flux (HF) dialyzer has been introduced to enhanced removal of small molecular weight (MW) cytokines. Interestingly, newly designed high cut-off (HCO) dialyzer that could theoretically remove large MW solute has never been studied in SLED-f therapy before. Methods: This prospective randomized trial was conducted in fifteen S-AKI patients to compare the efficacy of IL-6 removal between traditional HF dialyzer (n=7) and HCO dialyzer (n=8) in SLED-f technique. Results: The HCO-SLED-f treatment group was older [85 years (65.0-88.0) vs. 70 years (46.5-75.3) p=0.042] and had greater the numbers of organ failure, compare with the HF-SLED-f treatment group [3 organs (2-4) vs. 4 organs (3-5) p=0.042]. Both techniques provided similarly the plasma IL-6 clearance and the percentage of IL-6 reduction. There were significantly higher albumin losses in effluent fluid in HCO-SLED-f group than HF-SLED-f group. The total albumin losses were 4.72 gram in six hours duration of a HCO-SLED-f session. However, the percentage of plasma albumin reduction was not different between both treatment groups. Result as table. The incidence of intradialytic hypotension was 50% in HCO-SLED-f group, 42.3% in HF-SLED-f, similar between both groups. Conclusion: The HCO-SLED-f technique had trended greater the plasma IL-6 clearance than HF-SLED-f. There were albumin losses 4.72 grams in 6 hours of one HCO-SLED-f session. Therefore, this modality trends to effectiveness and safety for cytokine elimination capacity in septic related AKI. However, our study too small, we suggest larger trial for confirmation.en
dc.format.extent5713379 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1448-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectไตวายเฉียบพลันen
dc.subjectไต -- โรคen
dc.subjectอินเตอร์ลิวคิน-6en
dc.subjectเครื่องไดอะลัยสิสen
dc.titleการศึกษาการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการขจัดสารไซโตคายน์อินเตอร์ลิวคิน 6 ด้วยการฟอกเลือดด้วยตัวกรองที่มีรูกรองขนาดใหญ่พิเศษเปรียบเทียบกับการฟอกด้วยตัวกรองที่มีรูขนาดใหญ่ปกติในเครื่องฟอกไดอะฟิลเตรชั่นประสิทธิผลต่ำต่อเนื่องในผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิตที่มีภาวะไตวายฉับพลันen
dc.title.alternativeThe comparison of the efficiency of IL-6 removal between sustained low efficiency diafiltration with high cut-off dialyzer and high-flux dialyzer in septic acute kidney injury patientsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1448-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jeeraluk_tu.pdf5.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.