Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28223
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาวเลิศ เลิศชโลฬาร-
dc.contributor.authorรัตนาภรณ์ ถีถะแก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-12-29T12:46:53Z-
dc.date.available2012-12-29T12:46:53Z-
dc.date.issued2529-
dc.identifier.isbn974566305-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28223-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีนำเสนอ เนื้อหาแบบอุปมานและอนุมาน ในแผนภูมิการสอนกับระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่มีต่อสัมฤทธิผลการ เรียนรู้ของนัก เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนโรงเรียนวัดสามัคคีสุทธาวาส โรงเรียนวัดวิบุตยาราม และโรงเรียนวัดฉัตรแก้วจงกลณี เขตอำเภอบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2528 โดยสุ่มตัวอย่าง โรงเรียนละ 40 คน รวมทั้งสิ้น 120 คน กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดถูกจำแนกตามระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นกลุ่มสูง 60 คน กลุ่มต่ำ 60 คน โดยทำการลุ่มตัวอย่างแบบ แบ่งชั้น คัดเลือกจากคะแนนรวมของผลการสอนประจำภาคของปีการศึกษาที่ผ่านมา จากนั้น นำนัก เรียนในแต่ละระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจัดมาเข้ากลุ่มการทดลอง 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม ก และกลุ่ม ข กลุ่มตัวอย่างกลุ่ม ก ที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง จำนวน 30 คน และที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ จำนวน 30 คน ได้รับการเรียนจากแผนภูมิการสอน ที่นำเสนอเนื้อหาแบบอนุมานจำนวน 6 แผ่น กลุ่ม ข ที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง จำนวน 30 คน และ ที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนต่ำ จานวน 30 คน ได้รับการเรียนจากแผนภูมิการสอนที่นำเสนอเนื้อหาแบบอนุมานจำนวน 6 แผ่น แล้วนาข้อมูลที่ได้จากการทดสอบมาทำการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง และทาการเปรียบเทียบรายคู่ โดยวิธีหาค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทาง เดียว การวิจัยสรุปผลได้ดังนี้คือ 1. มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีนำเสนอเนื้อหาแบบอุปมาน และแบบอนุมานในแผนภูมิ กับระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสูง และกลุ่มต่ำ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 2. สัมฤทธิ์ผลการ เรียนรู้ของกลุ่มนักเรียนที่มีระดับผลสมฤทธิ์ทางการเรียนสูงที่เรียนด้วยแผนภูมิที่นำเสนอ เนื้อหาแบบอุปมาน และแบบอนุมาน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 3. สัมฤทธิ์ผลการ เรียนรู้ของกลุ่มนักเรียนที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำที่เรียนด้วยแผนภูมิที่นำเสนอ เนื้อหาแบบอุปมาน และแบบอนุมาน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ ระดับ .01 เมื่อพิจารณาตามค่าเฉลี่ยของคะแนนสัมฤทธิ์ผลการเรียนรู้ พบว่า นัก เรียนที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำที่เรียนด้วยแผนภูมิที่นำเสนอ เนื้อหาแบบอนุมานมีสัมฤทธิ์ผลการ เรียนรู้สูงกว่ากลุ่มนักเรียนที่มีระดับผลสมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ที่เรียนด้วยแผนถูมิที่นำเสนอ เนื้อหาแบบอุปมาน-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study an interaction of inductive and deductive content presentations in instructional charts and levels of learning achievement upon the learning achievement of Prathom Suksa Four students. The subjects were one hundred and twenty Prathom Suksa Four students of Wat Samakee-suthawas School, Wat wimuttayaram School and Wat chatkaewjonkonnee School Bangkok Noi, Bangkok, in the academic year of 1985. Forty students were randomly sampling from each school. All the subjects were assigned by the score of their final term into 2 levels of learning achievement : high and low, sixty subjects in each level. Then, subjects in each level of learning achievements were randomly assigned into 2 experimental group : group A and group B in each level. The thirty subjects in group A high level and group A low level of learning achievement learnt from six instructional charts with inductive method of content presentation and thirty subjects in group B high level and group B low level of learning achievement learnt from six instructional charts with deductive method of content presentation. The data obtained from the achievement test were analyzed by means of Two-Way Analysis of Variance and, pair wise analysis were used cell mean method and One-Way Analysis of Variance. The result indicated that 1.There were interaction between inductive and deductive content presentations in instructional charts and high- low levels of learning achievement at the 0.01 level of confidence. 2. The learning achievement of high level of learning achievement students learnt from instructional charts that presented content with inductive and deductive method was found no significant difference at the 0.01 level of confidence. 3. The learning achievement of low level of learning achievement students learnt from instructional charts that presented content with inductive and deductive method was significant difference at the 0.01 level of confidence. For the low level student, the learning achievement that learnt from instructional charts presented content with deductive method was more efficiency than presented content with inductive method.-
dc.format.extent3968084 bytes-
dc.format.extent3695527 bytes-
dc.format.extent10582158 bytes-
dc.format.extent1364439 bytes-
dc.format.extent2699815 bytes-
dc.format.extent3168669 bytes-
dc.format.extent8699702 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีนำเสนอเนื้อหาแบบอุปมานและอนุมาน ในแผนภูมิการสอนกับระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่มีต่อสัมฤทธิผลการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4en
dc.title.alternativeAn interaction of inductive and deductive content presentations in instructional charts and levels of learning achievement upon the learning achievement of prathom suksa four studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rattanaporn_te_front.pdf3.88 MBAdobe PDFView/Open
Rattanaporn_te_ch1.pdf3.61 MBAdobe PDFView/Open
Rattanaporn_te_ch2.pdf10.33 MBAdobe PDFView/Open
Rattanaporn_te_ch3.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open
Rattanaporn_te_ch4.pdf2.64 MBAdobe PDFView/Open
Rattanaporn_te_ch5.pdf3.09 MBAdobe PDFView/Open
Rattanaporn_te_back.pdf8.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.