Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28261
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนภวรรณ ตันติเวชกุล-
dc.contributor.authorสุบรรณ มณีมูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-01-02T04:21:44Z-
dc.date.available2013-01-02T04:21:44Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28261-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความแตกต่างของภาพลักษณ์ตราสินค้าหลักก่อนและหลังการขยายตราสินค้า จากการเลือกใช้กลยุทธ์การขยายตราสินค้าที่มีความเหมาะสมกับตราสินค้าหลักในระดับที่แตกต่างกัน โดยใช้การวิจัยเชิงสำรวจ และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล มีกลุ่มตัวอย่างเป็นชายและหญิง อายุ 15-34 ปี ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 411 คน ตราสินค้าที่นำมาใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ตราสินค้าโทรศัพท์มือถือ Nokia และ Motorola และประเภทสินค้าขยายแบบสมมติ 2 ประเภท ได้แก่ ประเภทสินค้าขยายแบบสมมติที่มีระดับความเหมาะสมกับตราสินค้าหลักในระดับสูง คือ นาฬิกาข้อมือ และประเภทสินค้าขยายแบบสมมติที่มีระดับความเหมาะสมกับตราสินค้าหลักในระดับต่ำ คือ รองเท้ากีฬา ผลการวิจัยพบว่า กลยุทธ์การขยายตราสินค้าไปสู่สินค้าประเภทนาฬิกาข้อมือ ซึ่งเป็น กลยุทธ์การขยายตราสินค้าที่มีระดับความเหมาะสมกับตราสินค้าหลักในระดับสูง ทำให้ภาพลักษณ์ตราสินค้าโดยทั่วไปหลังการขยายตราสินค้าของตราสินค้า Nokia ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่ภาพลักษณ์ตราสินค้าเชิงผลิตภัณฑ์หลังการขยายตราสินค้าของตราสินค้า Nokia ไม่ลดลง ส่วนภาพลักษณ์ตราสินค้าโดยทั่วไปและภาพลักษณ์ตราสินค้าเชิงผลิตภัณฑ์หลังการขยายตราสินค้าของตราสินค้า Motorola ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งคู่ สำหรับกลยุทธ์การขยายตราสินค้าไปสู่สินค้าประเภทรองเท้ากีฬา ซึ่งเป็นกลยุทธ์การขยายตราสินค้าที่มีระดับความเหมาะสมกับตราสินค้าหลักในระดับที่ต่ำกว่า ทำให้ภาพลักษณ์ตราสินค้าโดยทั่วไปและภาพลักษณ์ตราสินค้าเชิงผลิตภัณฑ์หลังการขยายตราสินค้าของทั้งตราสินค้า Nokia และ Motorola ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this survey study was to study difference between parent brand image before extension and parent brand image after extension from different extension strategies. Questionnaires were used to collect data from 411 men and women, aged 15-34 years old in Bangkok. Two mobile phone brands, Nokia and Motorola, were chosen as parent brands. Two hypothesis extensions that had significant differences in the degree of similarity were chosen; watch as the representative of high fit extension; trainers as the representative of low fit extension. The findings showed that, in the case of watch extension which was the high fit extension strategy, significant difference occurred in general brand image of Nokia, but did not occur in product brand image; for Motorola, significant differences occurred in general brand image as well as product brand image. In the case of trainers extension which was the low fit extension strategy, significant differences occurred in both general brand image and product brand image of both Nokia and Motorola.en
dc.format.extent2034390 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1514-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโทรศัพท์เคลื่อนที่ -- การตลาดen
dc.subjectการจัดการผลิตภัณฑ์en
dc.subjectความพึงพอใจของผู้บริโภคen
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen
dc.subjectการสร้างชื่อตราผลิตภัณฑ์en
dc.titleกลยุทธ์การขยายตราสินค้าโทรศัพท์มือถือกับภาพลักษณ์ตราสินค้าหลัก ก่อนและหลังการขยายตราสินค้าen
dc.title.alternativeBrand extension strategy of mobile phone and parent brand image before and after extensionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1514-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
suban_ma.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.