Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28284
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนพดล จอกแก้ว-
dc.contributor.authorกิตติพงศ์ สุธนะวุฒิ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2013-01-03T01:41:07Z-
dc.date.available2013-01-03T01:41:07Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28284-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและนำเสนอแนวทางการฝึกอบรมสำหรับวิศวกรสนามในบริษัทผู้รับเหมาก่อสร้างไทย โดยมีขั้นตอนการดำเนินการคือ 1) จัดทำแนวทางการฝึกอบรมเบื้องต้นสำหรับวิศวกรสนามโดยใช้ข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบจากประสบการณ์การทำงาน และบทบาทหน้าที่วิศวกรสนาม ซึ่งแนวทางการฝึกอบรมประกอบด้วยหัวข้อการฝึกอบรม วิธีการฝึกอบรมตามประเภทของการถ่ายทอดองค์ความรู้ และระดับประสบการณ์ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 2) ตรวจสอบความเหมาะสมของแนวทางการฝึกอบรมเพื่อหาข้อสรุปที่เป็นฉันทามติจากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ ผู้จัดการโครงการ วิศวกรโครงการ และผู้ช่วยผู้จัดการโครงการ จำนวน 15 ราย โดยใช้เทคนิคเดลฟายแบบปรับปรุง (modified Delphi Technique) ในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาฉันทามติ และ 3) ตรวจสอบฉันทามติของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ โดยใช้กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ราย จากผลการวิจัยพบว่า หัวข้อที่ควรฝึกอบรมวิศวกรสนามประกอบด้วย 16 รายการ โดยแบ่งเป็น 1) ระยะเริ่มต้นโครงการก่อสร้าง 3 รายการ 2) ช่วงระหว่างการก่อสร้าง 12 รายการ และ 3) ระยะสิ้นสุดโครงการก่อสร้าง 1 รายการ โดยใช้วิธีการฝึกอบรมซึ่งแบ่งตามประเภทของการถ่ายทอดองค์ความรู้ออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และทัศนคติ (Attitude) ซึ่งประกอบด้วย การบรรยาย การสาธิต และการอภิปรายกลุ่มร่วมกับการแสดงบทบาทสมมุติ ตามลำดับ และระดับประสบการณ์ของผู้เข้าฝึกอบรมแบ่งออกเป็น 4 แบบ ได้แก่ 1) ตั้งแต่จบการศึกษาใหม่จนถึง 3 ปี 2) มีประสบการณ์แต่ไม่เกิน 3 ปี 3) มีประสบการณ์ 3 ปี ขึ้นไป และ 4) ตั้งแต่จบการศึกษาใหม่เป็นต้นไป นอกจากนี้ผลการวิจัยยังได้นำเสนอการจัดลำดับความสำคัญของแต่ละหัวข้อการฝึกอบรมสำหรับวิศวกรสนามในบริษัทผู้รับเหมาก่อสร้างไทยen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to study and to propose a training guideline for site engineers in Thai contractor firms. The research methodologies are 1) to develop the basic guideline for site engineer training such as training topics, training methodologies, and experience levels of trainees by using data from literature reviews, interviews, and a survey of site engineers’ job descriptions, 2) to summarize the basic training guideline by the consensus from 15 experts’ opinions e.g., project managers, project engineers, and assistant project managers by using modified Delphi Technique, and 3) to verify the experts’ consensus by 3 professionals’ opinions. The results of this research show that the topics of training guideline for site engineers consist of 16 items. The training topics were divided to 1) 3 items in project start period, 12 items in construction period, and 1 item in project finish period which follow the knowledge transfer methods such as knowledge, skill, and attitude transferred by lecture, demonstration, group discussion and role-playing, respectively. The experience of trainees consists of 4 types: 1) the new graduates with less than three years experience, 2) the experience less than three years, 3) the experience more than three years, and 4) all new graduates. Moreover, the results of this research show the important ranking of each training topic for site engineers in Thai contractor firms.en
dc.format.extent5475016 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1520-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอุตสาหกรรมการก่อสร้าง -- ลูกจ้าง -- การฝึกอบรม -- ไทยen
dc.subjectวิศวกรโยธา -- การฝึกอบรม -- ไทยen
dc.titleแนวทางการฝึกอบรมสำหรับวิศวกรสนามในบริษัทผู้รับเหมาก่อสร้างไทยen
dc.title.alternativeA training guideline for site engineers in Thai contractor firmsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorNoppadon.J@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1520-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kittipong_su.pdf5.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.