Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28298
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเดชา ฉัตรศิริเวช-
dc.contributor.authorเสาวลักษณ์ ธนะภาชน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-01-03T07:43:51Z-
dc.date.available2013-01-03T07:43:51Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28298-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractศึกษากระบวนการแยกอากาศและกระบวนการผลิตก๊าซธรรมชาติเหลว เนื่องจากทั้งสองกระบวนการผลิตมีการใช้เทคโนโลยีในการผลิตที่คล้ายคลึงกัน และผลิตภัณฑ์ที่ได้จากทั้งสองกระบวนการผลิตมีสภาวะที่เรียกว่า ความเย็นยิ่งยวด (Cryogenic) จึงมีแนวความคิดที่จะศึกษาการนำอุปกรณ์บางส่วนจากกระบวนการแยกอากาศนำมาดัดแปลงใช้กับกระบวนการผลิตก๊าซธรรมชาติเหลว โดยจะศึกษาเปรียบเทียบสภาวะของทั้งสองกระบวนการโดยใช้โปรแกรม PRO II ในการสร้างแบบจำลองและใช้แบบจำลองดังกล่าวในการเลือกอุปกรณ์บางส่วนของกระบวนการแยกอากาศ มาดัดแปลงใช้กับกระบวนการผลิตก๊าซธรรมชาติเหลว ซึ่งจากผลการเปรียบเทียบสภาวะของทั้งสองกระบวนการพบว่า ในส่วนของอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนแบบแผ่น (Plate–fin heat exchanger) มีสภาวะที่คล้ายคลึงกัน และเมื่อนำค่าพลังงานความร้อน (Duty) 28.89 เมกกะกิโลจูล/ชั่วโมง ของอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนแบบแผ่นจากกระบวนการแยกอากาศ นำมาดัดแปลงใช้งานกับกระบวนการผลิตก๊าซธรรมชาติเหลว พบว่าก๊าซธรรมชาติจากแหล่งตะวันตกได้ปริมาณผลิตภัณฑ์แอลเอ็นจี (Productivity) มากที่สุดคือ 23,851.2 กิโลกรัม/ชั่วโมง และใช้ปริมาณพลังงานที่ผลิต (Power consumption) ของการทำความเย็นต่อหน่วยมวลผลิตภัณฑ์แอลเอ็นจีน้อยที่สุดคือ 1,204.4 กิโลจูล/กิโลกรัมแอลเอ็นจี และการดำเนินงานที่ความดันต่ำที่สุด จะทำให้ใช้ปริมาณพลังงานของการทำความเย็นที่ผลิตต่อหน่วยมวลผลิตภัณฑ์แอลเอ็นจีสูงที่สุดen
dc.description.abstractalternativeTo investigate of air separation process and liquefied natural gas (LNG) production, as both of two manufacturing processes are using similar technology to manufacture and products of both processes are in cryogenic condition, base on these knowledge bring to the study to apply some machine and equipment to apply in the liquefied natural gas production. The study is to compare the condition of two processes by PRO II program to create the model and simulate. Also use the created model to selecting the device from air separation process then apply in liquefied natural gas production process. The results of the comparison of the two conditions found in most of the plate–fin heat exchanger with similar conditions. When the heat duty 28.89 M.kJ/hr. The plate–fin heat exchanger air separation process. To be adapted for use with liquefied natural gas production. The natural gas from Western sources of supply LNG productivity is the most 23,851.2 kg/hr. The amount of energy produced per unit mass of LNG production is minimal 1,204.4 kJ/kg of LNG. The refrigeration work for LNG production varied inversely with the pressure of LNG produced.en
dc.format.extent3646048 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1527-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอากาศ -- การทำให้บริสุทธิ์en
dc.subjectก๊าซธรรมชาติเหลวen
dc.subjectAir -- Purificationen
dc.subjectLiquefied natural gasen
dc.titleการดัดแปลงกระบวนการแยกอากาศเป็นกระบวนการผลิตก๊าซธรรมชาติเหลวen
dc.title.alternativeModification of air separation process to liquefied natural gas processen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisordeacha.c@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1527-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
saowaluk_th.pdf3.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.