Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28495
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชยันติ ไกรกาญจน์-
dc.contributor.advisorสมพร ไพสิน-
dc.contributor.authorศรีปาล ศรีเปารยะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-01-16T10:23:02Z-
dc.date.available2013-01-16T10:23:02Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746341871-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28495-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาถึงสิทธิหน้าที่เกี่ยวกับการเฉลี่ยความเสียหายทั่วไป เรื่องดังกล่าวยังไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นการเฉพาะ แต่มีการกล่าวถึงเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534 พระราชบัญญัติการกักเรือ พ.ศ. 2534 และพระราชบัญญัติการจำนองเรือและบุริมสิทธิทางทะเล พ.ศ. 2537 ดังนั้นสิทธิดังกล่าวจึงขาดความชัดเจนว่าจะเป็นไปในลักษณะใด โดยศึกษาถึงที่มาของแนวความคิด ว่าด้วยการเฉลี่ยความเสียหายทั่วไป หลักการเฉลี่ยความเสียหายทั่วไปตามกฎหมายของต่างประเทศที่มีความสำคัญ ทางด้านพาณิชยนาวี ตลอดจนจารีตประเพณีที่ถือปฏิบัติกันอยู่ในการรับขนของทางทะเลระหว่างประเทศ จากการศึกษาพบว่า หลักการเฉลี่ยความเสียหายทั่วไปเป็นความสัมพันธ์ทางกฎหมายลักษณะหนึ่งซึ่งพัฒนามาจากหลักกฎหมายของชาวโรมันที่สืบทอดมาจากจารีตประเพณีการค้าในสมัยโบราณ กฎหมายว่าด้วยการเฉลี่ยความเสียหายทั่วไปของประเทศต่างๆ ทั่วโลกล้วนมีที่มาจากหลักกฎหมายดังกล่าว ทำให้มีการยอมรบ York-Antwerp Rules ซึ่งเกิดจากการตกลงประชุมร่วมกันของประเทศต่างๆ มาใช้ในการเฉลี่ยความเสียหายทั่วไปได้อย่างแพร่หลาย ส่วนในทางปฏิบัติของการเฉลี่ยความเสียหายทั่วไปในประเทศไทยนั้น มีการตกลงกันนำเอา York-Antwerp Rules มาใช้ในการเฉลี่ยความเสียหายทั่วไปโดยปรากฏอยู่ในใบตราส่ง สัญญาชาร์เตอร์เรือ และกรมธรรม์ประกันภัยทางทะเล เป็นต้น การตกลงกันดังกล่าวไม่สามารถบังคับกันได้ตามกฎหมายเพราะไม่มีบทบัญญัติของกฎหมายไทยรองรับแต่ศาลสามารถใช้ช่องทางตามมาตรา 4 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หาหลักกฎหมายมาปรับกับข้อเท็จจริงได้ และการที่ไม่มีบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวยังทำให้สิทธิหน้าที่ตามพระราชบัญญัติทั้ง 3 ฉบับข้างต้นในส่วนที่เกี่ยวกับการเฉลี่ยความเสียหายทั่วไปเกิดขึ้นไม่สมบูรณ์จนกว่าจะมีการตรากฎหมายว่าด้วยการเฉลี่ยความเสียหายทั่วไปขึ้นใช้บังคับ ดังนั้นประเทศไทยต้องมีการตรากฎหมายว่าด้วยการเฉลี่ยความเสียหายทั่วไป โดยกำหนดหลักการที่ เป็นแนวคิดพื้นฐานอันเป็นที่มาของมูลแห่งนี้ ส่วนวิธีการคิดคำนวณค่าเฉลี่ยความเสียหายทั่วไปเห็นควรกำหนดไว้กว้างๆ และเปิดช่องให้สามารถตกลงเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่นได้ ในการตรากฎหมายดังกล่าวเห็นควรพิจารณาเทียบเคียงจากหลักกฎหมายใน York-Antwerp Rules และกฎหมายของต่างประเทศที่มีบทบาทสำคัญในกิจการพาณิชยนาวี โดยคำนึงถึงความสอดคล้องกับโครงสร้างของระบบกฎหมายไทยด้วย-
dc.description.abstractalternativeThis thesis focuses on the rights and duties of concerned parties involving general average. There is no specific provision of law on these maritime matters. However, the provision of the Carriage of Goods by Sea Act B.E.2534, the Arrest of Sea-Going Ships Act B.E. 2534 and the Ship Mortgage and Maritime Liens Act B.E. 2537 partially refer to such principle relating to these Acts. Thus, these rights and duties, as far as the principle of general average is concerned, are still ambiguous. The thesis, in these regards, intends to study the legal history of the general principle of general average according to the law of maritime countries as well as customs of maritime trade practicing within international shipping circle. This study finds that the doctrine of general average is legal institution derived from Roman civil law which was adopted from old custom and trade practices of the Rhodians . The law on general average, having been developed in Roman law, becomes part of maritime law in many countries. For this reason, the York-Antwerp Rules, which were created by international conference, have been widely adopted to settle general average. In practice, the York- Antwerp Rules have also been adopted to settle general average within Thailand. The agreement on general average settlement is, for example, stated on bill of lading, charter party and marine policy. The said agreement cannot be enforced according to law because there is no provision of Thai laws based on this matter. However, the court can refer to Section 4 of civil and Commercial Code for the purpose of finding law relating to general average act. The fact that there is no provision of the law on general average causes rights and duties under the above 3 Acts relating to general average to be incomplete. Therefore, Thailand should enact the legislation to legalize obligations resulting from general average act. Such legislation should lay down only the general principle of general average. However it may also go in details of general average adjustment to some extent but it should be allowed to be altered by agreement of parties concerned. In elaboration of the provision to be enacted, the York-Antwerp Rules and the law of maritime countries should be adopted taking in to account their consistency with the structure of Thai legal, system.-
dc.format.extent5048524 bytes-
dc.format.extent3471046 bytes-
dc.format.extent61631736 bytes-
dc.format.extent46854859 bytes-
dc.format.extent8616421 bytes-
dc.format.extent11952444 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเฉลี่ยความเสียหายทั่วไปตามกฎหมายพาณิชยนาวีของไทยen
dc.title.alternativeGeneral average under Thai Maritime Lawen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sripal_sr_front.pdf4.93 MBAdobe PDFView/Open
Sripal_sr_ch1.pdf3.39 MBAdobe PDFView/Open
Sripal_sr_ch2.pdf60.19 MBAdobe PDFView/Open
Sripal_sr_ch3.pdf45.76 MBAdobe PDFView/Open
Sripal_sr_ch4.pdf8.41 MBAdobe PDFView/Open
Sripal_sr_back.pdf11.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.