Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28688
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์
dc.contributor.authorแก้วใจ จันทร์เจริญ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-01-25T08:06:59Z
dc.date.available2013-01-25T08:06:59Z
dc.date.issued2533
dc.identifier.isbn9745774537
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28688
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะพรรณนาลักษณะของคำรื่นหูในภาษาไทย วิเคราะห์ทั้งความหมายตรงและความหมายแผงของคำรื่นหูนี้ และศึกษาค่านิยมกับโลกทัศน์ที่สะท้อนในคำรื่นหู ในภาษาทุกภาษารวมทั้งภาษาไทยมีคำชนิดหนึ่งที่เรียกกันว่า คำต้องห้าม ซึ่งหมายถึงคำหรือข้อความใดๆที่ห้ามพูดหรือไม่สมควรที่จะกล่าวตามที่สังคมได้กำหนด เช่น คำที่ใช้เรียก โรคร้าย ความตาย อวัยวะเพศ การขับถ่าย เป็นต้น และทุกภาษาจะมีคำอีกชนิดหนึ่งซึ่งถูกนำมาใช้แทนคำที่ต้องห้ามเหล่านี้เพื่อหลีกเลี่ยงการกล่าวถึงคำต้องห้ามโดยตรง คำใหม่ที่ถูกนำมาใช้แทนนี้เรียกว่า คำรื่นหู เช่น การใช้คำว่า “สิ้นใจ” แทนคำว่า /ta : j/ หรือการใช้คำว่า “เด็ดดอกไม้” แทนคำว่า /jiˆaw/ เป็นต้น วิทยานิพนธ์นี้มุ่งที่จะศึกษาคำรื่นหูที่ใช้แทนคำต้องห้ามในภาไทย จำนวน 11 คำ อันได้แก่ /hˆia/ , / ta : j / , / ma′ren / , / je′t / , / hˇi:/ , / nom / , / moˇj / , / jiˆaw / และ /to`t/ ผลการวิจัยพบว่าคำรื่นหูในภาษาไทยมีลักษณะสำคัญ 4 ประเภท คือ คำรื่นหูประเภทดัดแปลงจากคำต้องห้าม เข่น คำว่า “ซี.เอ” หรือคำว่า “มะเร็ง” แทนคำว่า / ma′ren / คำรื่นหูประเภทคำศัพท์ต่างประเทศ เช่นคำว่า “เดด” มาจาก dead ซึ่งใช้แทนคำว่า / ta : j / คำรื่นหูประเภทลดความหมายของคำเช่นใช้คำว่า “เสียชีวิต” แทนคำว่า / ta : j / คำรื่นหูประเภทสุดท้ายได้แก่คำรื่นหูประเภทอุปลักษณ์ เช่น การใช้คำว่า “ตัวเงินตัวทอง” แทนคำว่า /hˆia/ ในการวิเคราะห์ความหมายตรงและความหมายแฝงของคำรื่นหูพบว่า ความหมายของคำรื่นหูหมายถึงสิ่งที่เป็นรูปธรรมซึ่งแวดล้อมตัวมนุษย์ เช่น สัตว์ ธรรมชาติ ความสุข ความรัก ส่วนความหมายแฝงนั้นพบว่ามีความหมายแผงถึง ความสุภาพ เช่นในคำว่า “อวัยวะสืบพันธุ์” หรือความรัก เช่นคำว่า “ร่วมรัก” หรือความสุข เช่นคำว่า “ไปสวรรค์” เป็นต้น ผู้วิจัยพบว่า ความหมายเหล่านี้สะท้อนถึงค่านิยมที่สำคัญในสังคมไทย เช่น ความมั่งคั่ง ความสุข ความรัก ความมีอำนาจ และโลกทัศน์ไทยที่สำคัญ 2 ประการคือ โลกแห่งความแตกต่างระหว่างชายหับหญิงและโลกแห่งบุญและบาป
dc.description.abstractalternativeThis thesis aims at describing the characteristics of euphemic words in Thai, analyzing their denotative and connotative meanings and studying Thai values and word view reflected in these words. All languages including Thai have a certain kind of words called taboo words – words that are forbidden to speak because they are considered to be sacred, vulgar, obscene or unpleasant. These words, which usually refer to superstition, disease, death, sex and excretion, are normally substituted by euphemism, for example / sinˇcaj/ “end-heart” for / ta:j / “dead”, / de`tdo`km′a : j / “pick-flower” for / jiˆaw/ “to urinate”. This thesis focuses on euphemic words that are associated with ll taboo words in Thai : /hˆia/ “water moniter regarded as a creature of ill omen” / ta:j / “dead”, / m′aren/ “cancer”,/ j′et/ “make love”,/ khuaj / “penis”, / hˇi: / “vagina`,/ nom/”breast”, / moˇj/ “hair of sex organ”, / khˆi:/ “to defecate”, /jiˆaw/ “to urinate” and /to`t/ “to break wind”. The study shows that there are four ways of forming a euphemic word in Thai : distortion of a taboo word by abbreviation or phonetic corruption such as / si : e: / or / m′aseˇn/ for / m′aren/ “cancer” ; using a foreign word , as / de′: t/ (from English “dead”) for / ta:j / “dead”; and use of metaphor, as /tuanentuatho : o / “body-silver-body-gold” for /hˆia/ “water moniter regarded as a creature of ill
dc.format.extent4408676 bytes
dc.format.extent4620754 bytes
dc.format.extent8925597 bytes
dc.format.extent6273882 bytes
dc.format.extent9574317 bytes
dc.format.extent6119721 bytes
dc.format.extent2028481 bytes
dc.format.extent9139795 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleคำรื่นหูในภาษาไทยen
dc.title.alternativeEuphemism in Thaien
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภาษาศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kaewchai_ch_front.pdf4.31 MBAdobe PDFView/Open
Kaewchai_ch_ch1.pdf4.51 MBAdobe PDFView/Open
Kaewchai_ch_ch2.pdf8.72 MBAdobe PDFView/Open
Kaewchai_ch_ch3.pdf6.13 MBAdobe PDFView/Open
Kaewchai_ch_ch4.pdf9.35 MBAdobe PDFView/Open
Kaewchai_ch_ch5.pdf5.98 MBAdobe PDFView/Open
Kaewchai_ch_ch6.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open
Kaewchai_ch_back.pdf8.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.