Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28704
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ชร์-
dc.contributor.advisorเจริญทัศน์ จินตนเสรี-
dc.contributor.authorวันชัย บุญรอด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-01-29T09:16:26Z-
dc.date.available2013-01-29T09:16:26Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746324047-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28704-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาโปรแกรมการฝึกนักกรีฑาด้วยการเสริมวิธีการฝึกแบบพลัยโอเมตริกและไอโซคิเนติค โดยมีวิธีการ 4 ขั้นตอนคือ 1) ศึกษาโปรแกรมการฝึกนักกรีฑาทีมชาติไทยของสมาคมกรีฑาสมัครเล่นแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ 2) สร้างโปรแกรมการฝึกนักกรีฑาด้วยการเสริมวิธีการฝึกแบบพลัยโอเมตริกและไอโซคิเนติค 3) ศึกษาคุณภาพเชิงประจักษ์ของโปรแกรมที่สร้างขึ้นและ 4) ทดลองเพื่อประเมินผลโปรแกรมการฝึกที่สร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่างประชากร สุ่มแบบกำหนดแบ่งออกเป็นกลุ่มควบคุม 4 กลุ่มทำการฝึกตามโปรแกรมของสมาคมกรีฑาฯ อีก 8 กลุ่ม เป็นกลุ่มทดลอง โดย 4 กลุ่มแรกฝึกตามโปรแกรมการฝึกนักกรีฑาด้วยการเสริมวิธีการฝึกแบบพลัยโอเมตริก และอีก 4 กลุ่มที่เหลือฝึกตามโปรแกรมการฝึกนักกรีฑาด้วยการเสริมวิธีการฝึกแบบไอโซคิ เนติค ทั้งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองทั้ง 12 กลุ่มนี้ ทำการฝึกในกิจกรรมการวิ่ง 100 เมตร 200 เมตร ทุ่มน้ำหนักและขว้างจักรเช่นเดียวกัน โดยใช้เวลาในการฝึก 12 สัปดาห์ ทำการทดสอบผลของการฝึกหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 48 และ 12 แล้วนำข้อมูลที่ได้จากการทดสอบมาวิเคราะห์ โดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมแบบทางเดียว และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของฅูกี ผลการวิจัยพบว่า โปรแกรมการฝึกนักกรีฑาด้วยการเสริมวิธีการฝึกแบบพลัยโอเมตริกและไอโซคิเนติคที่สร้างขึ้น ดังปรากฏในภาคผนวก มีผลต่อความสามารถในการวิ่ง 200 เมตร ดีกว่าโปรแกรมการฝึกนักกรีฑา ของสมาคมกรีฑาฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับความสามารถในการทุ่มน้ำหนักนั้น การฝึกตามโปรแกรมการฝึกนักกรีฑาของสมาคมกรีฑาฯ ดีกว่าการฝึกตามโปรแกรมการฝึกนักกรีฑาด้วยการเสริมวิธีการฝึกแบบพลัยโอเมตริกและไอโซคิเนติค อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสำหรับการวิ่ง 100 เมตรและขว้างจักร ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ระหว่างโปรแกรมการฝึกนักกรีฑาทั้ง 3 โปรแกรม-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to develop training program for track and field athletes by supplementing plyometric and isokinetic techniques. The research procedure were: l) Studying the training program of Amateur Athletics Association of Thailand (AAAT). 2) Developing of training program for track and field athletes by supplementing plyometric and isokinetic techniques. 3) Validating the constructed training program by means of empirical study. 4) Determining the applicability of the constructed training program. The subjects were randomly assigned into 12 groups: the first 4 groups were trained by the AAAT training program; the next 4 groups were trained by the constructed training program supplemented by plyometric techniques and the last 4 groups were trained by the constructed training program supplemented by isokinetic techniques. All 12 groups were trained in the same 100 meter run, 200 meter run, shot putting and discus throwing for 12 weeks and all subjects were tested at the end of the fourth, eighth and twelfth weeks of training. The obtained data were then analyzed in terms of means and standard deviations. The One-Way ANC0VA and Tukey method of multiple comparisons were also employed to determine the significance of means differences. It was found that: The constructed training program which was supplemented by plyometric and isokinetic techniques as appeared in appendix was better in 200 meter run than the AAAT training program significantly at .05 level. For the ability in shot putting, it appeared that the AAAT training program was significantly better than the constructed training program which was supplemented by plyometric and isokinetic techniques at 7o5 level. In 100 meter run and discus throwing there was no significantly different among those 3 programs at .05 level.-
dc.format.extent8742996 bytes-
dc.format.extent5539636 bytes-
dc.format.extent27030070 bytes-
dc.format.extent5583895 bytes-
dc.format.extent9759162 bytes-
dc.format.extent4022523 bytes-
dc.format.extent50361703 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectนักกรีฑา-
dc.subjectการฝึกกำลังกล้ามเนื้อ-
dc.subjectไอโซคิเนติก (การฝึกกำลัง)-
dc.subjectพลัยโอเมตริก (การฝึกกำลัง)-
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมการฝึกนักกรีฑาด้วยการเสริม วิธีการฝึกแบบพลัยโอเมตริกและไอโซคิเนติคen
dc.title.alternativeThe development of training program for track and field athletes by supplementing plyometric and isokinetic techniquesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wanchai_boo_front.pdf8.54 MBAdobe PDFView/Open
Wanchai_boo_ch1.pdf5.41 MBAdobe PDFView/Open
Wanchai_boo_ch2.pdf26.4 MBAdobe PDFView/Open
Wanchai_boo_ch3.pdf5.45 MBAdobe PDFView/Open
Wanchai_boo_ch4.pdf9.53 MBAdobe PDFView/Open
Wanchai_boo_ch5.pdf3.93 MBAdobe PDFView/Open
Wanchai_boo_back.pdf49.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.