Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28753
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวดี ธนประสิทธิ์พัฒนา-
dc.contributor.authorเรืองวิทย์ ลิ่มปนาท-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-02-05T10:25:18Z-
dc.date.available2013-02-05T10:25:18Z-
dc.date.issued2537-
dc.identifier.isbn9745842338-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28753-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537en
dc.description.abstractภายหลังการทำสนธิสัญญาเบาริงใน พ.ศ.2398 ระบบเศรษฐกิจของสยามได้เข้าสู่ระบบทุนนิยม ลักษณะเช่นนี้ได้ดำเนินต่อเนื่องมาจนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 อย่างไรก็ตาม ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองนั้น เกิดการแพร่หลายของแนวความคิดที่เรียกร้องให้รัฐเข้ามามีบทบาททางเศรษฐกิจ แต่ด้วยเงื่อนไขของหนังสือสัญญาพระราชไมตรีเป็นข้อจำกัดของรัฐบาลในระบอบเก่าตกทอดมาถึงระบอบใหม่ ทำให้รัฐบาลในระบอบใหม่ไม่สามารถดำเนินการตามแนวความคิดดังกล่าวได้อย่างจริงจัง จนเมื่อเงื่อนไขดังกล่าวผ่านพ้นไปแล้วรัฐบาลจึงได้ดำเนินการตามแนวความคิดที่มุ่งเพิ่มบทบาทของรัฐในการจัดการทางเศรษฐกิจเพื่อให้คนไทยมีบทบาททางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตามบทบาทของรัฐดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ทำให้ต้องมีการทบทวนบทบาทของรัฐในการจัดการทางเศรษฐกิจ ในช่วงรัฐบาลพลเรือนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง แต่เมื่อจอมพลป.พิบูลสงครามมีโอกาสกลับมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่งในช่วง พ.ศ.2491-2500 ก็ทำให้แนวความคิดที่จะให้รัฐมีบทบาทในการจัดการทางเศรษฐกิจกลับมาอีกครั้งหนึ่ง บทบาทของรัฐในการจัดการทางเศรษฐกิจในช่วงเวลาดังกล่าวได้ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ เช่น การให้อภิสิทธิ์ผูกขาดต่างๆ การฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นต้น ปัญหาต่างๆ ดังกล่าวประกอบกับการที่รัฐไทยเข้าไปสัมพันธ์กับระบบทุนนิยมโลก ซึ่งมีลักษณะเป็นทุนนิยมแบบเสรีนิยมหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 และการติดต่อระหว่างรัฐบาลไทยกับต่างประเทศเพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและอื่นๆ ทำให้มีการส่งผ่านแนวความคิดในการพัฒนาเศรษฐกิจแนวทางใหม่ ให้แก่รัฐบาลไทย โดยกลุ่มผู้มีบทบาทคือ ข้าราชการระดับสูงที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงินการคลัง ประกอบกับกระแสของการวิพากษ์วิจารณ์ของปัญญาชนนักหนังสือพิมพ์ ทำให้จอมพลป.พิบูลสงครามเริ่มที่จะปรับนโยบายให้สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจแนวทางใหม่ที่จะส่งเสริมให้เอกชนเข้ามามีบทบาททางเศรษฐกิจการพัฒนาทางเศรษฐกิจในแนวทางใหม่นี้ชัดเจนมากขึ้น ภายหลังการปฏิวัติของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ใน พ.ศ. 2500 และนับเป็นรากฐานของระบบเศรษฐกิจไทยในปัจจุบัน-
dc.description.abstractalternativeAfter the 1855 Bowring Treaty the Siamese economy had launched towards a capitalist economy. In the years following the Revolution of 1932 more demands were made for the state to assume a bigger role in the economy, but the limitations imposed by the unequal treaties with the West prevented the early constitutional governments from doing so. After the revision of the treaties the government was able to assume a more significant part in the management of the economy. However, the state's role in the economy caused various problems and was reviewed during the period of civilian government just after World War II. When Field-Marshal p. Phibunsongkhram returned to power as Prime Minister during 1948-1957, the idea that the state had to play key role in the management of the economy once again became prevalent. The state's role in economic management during this period led to many problems such as the privileges conferred by monopolies and corruption. The various problems mentioned above, as well as the involvement of Thai economy with the world capitalist system after World War II, had led to new economic idea about the development of the country. The leading groups who expressed this idea were high level government servants responsible to finance affairs, and parts of the intellectuals who express their opinion through newspapers. Increasing-criticism led F.M.P. Phibunsongkhram to begin adapting his policy to suit the new economic idea and to offer opportunities for the private sector to assume a larger role. This economic idea became more clearly discernible after the coup d'état of F.M.Sarit Thanarat in 1957, and forms the basis of the present-day Thai economy.-
dc.format.extent6148778 bytes-
dc.format.extent30714932 bytes-
dc.format.extent39971689 bytes-
dc.format.extent39830505 bytes-
dc.format.extent41453189 bytes-
dc.format.extent36262353 bytes-
dc.format.extent11091740 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleบทบาทของรัฐในระบบทุนนิยมไทย (พ.ศ.2475-2500)en
dc.title.alternativeThe role of state in the Thai capitalist economy, 1932-1957en
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประวัติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ruengwit_ii_front.pdf6 MBAdobe PDFView/Open
Ruengwit_ii_ch1.pdf30 MBAdobe PDFView/Open
Ruengwit_ii_ch2.pdf39.03 MBAdobe PDFView/Open
Ruengwit_ii_ch3.pdf38.9 MBAdobe PDFView/Open
Ruengwit_ii_ch4.pdf40.48 MBAdobe PDFView/Open
Ruengwit_ii_ch5.pdf35.41 MBAdobe PDFView/Open
Ruengwit_ii_back.pdf10.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.