Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28834
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ก่อเกียรติ บุญชูสกุล | |
dc.contributor.author | ภาณุ ประทุมนพรัตน์ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-02-11T07:30:22Z | |
dc.date.available | 2013-02-11T07:30:22Z | |
dc.date.issued | 2539 | |
dc.identifier.isbn | 9746334662 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28834 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อวิเคราะห์ผลของความหนาชิ้นทดสอบต่อการทดสอบความต้านทาน ในการแตกร้าวภายใต้สภาวะความเครียดระนาบของท่อเหล็ก เอ. เอส. เอ็ม.อี. เอส. เอ.-335 เกรด พี.22 และเพื่อประมาณค่าความต้านทานในการแตกร้าวภายใต้สภาวะความเครียดระนาม KIC กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย ได้แก่ ชิ้นทดสอบ CT จัดวางแนวแบบ C-L เตรียมจากท่อ ไอดง ASME SA-335 เกรด P22 ของโรงไฟฟ้ากังหันไอน้ำ ตามข้อกำหนดต่างๆ ของมาตรฐาน ASTM E399 โดยมีความหนาของชิ้นทดสอบน้อยกว่าที่มาตรฐานได้กำหนดไว้ ชิ้นทดสอบแบ่ง เป็น 5 กลุ่มตาม ความหนา คือ 15.00 , 17.50 , 20.00 , 23.00 และ 25.40 mm และความกว้างของชิ้นทดสอบมีค่าคงที่เท่ากับ 50.80 mm เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือเครื่องทดสอบการแตกร้าวด้วยระบบไฮดรอลิค และการทดสอบทุกอย่างได้กระทำที่อุณหภูมิห้อง ผลการวิจัยพบว่า 1. ความต้านทานในการ แตกร้าว KQ มีแนวโน้มลดลง เมื่อความหนาของชิ้นทดสอบ เพิ่มขึ้นตามมาตรฐานของ ASTM E399 จะต้องใช้ชิ้นทดสอบที่มีความหนาอย่างน้อย 620 mm จึงจะได้ค่า KIC ที่เชื่อถือได้ 2. จากมาตรฐานของ E813 ค่า JIC ที่ได้จากการทดสอบ J-Integral ด้วยเทคนิควิธีการ ทดสอบด้วยชิ้นทดสอบหลายชิ้น ได้ JIC เท่ากับ 162.70 kJ/m2 และแปลงไปเป็น KIC เท่ากับ 183.80 MPa m1/2 และคำนวณความหนาอย่างน้อยของชิ้นทดสอบได้เท่ากัน 597 mm 3. เพราะว่าความสอดคล้องกันระหว่างค่าความหนาอย่างน้อยของชิ้นทดสอยที่คำนวณได้จาก KIC กับค่าที่ทำนายด้วยมาตรฐานของ E399 เป็นไปด้วยดี จึงเป็นไปได้ที่จะกำหนดให้แนวโน้มของความต้านทานในการแตกร้าว KQ มีค่าลดลงเมื่อความหนาของชิ้นทดสอบ เพิ่มขึ้นจนกระทั่งไป asymtote กับระดับของ KIC ที่ความหนาอย่างน้อยของชิ้นทดสอบเท่ากับ 597 mm | |
dc.description.abstractalternative | This research aimed at analyzing the specimen thickness effect on plane strain fracture toughness testing in ASME SA-335 Grade P22 steel pipes. The research also aimed at evaluating the plane strain fracture toughness KIC. The research sample consisted of 15 compact tension specimens with C-L orientation , prepared from super-heater pipes ASME SA-335 Grade P22 in steam turbine power plants , were prepared as per the various recommendations of ASTM E399. However , the thicknesses of the specimen were less than those prescribed in the E399 standard. These can be classified into five groups of thickness (B = 15.00, 17.50, 20.00, 23.00 and 25.40) and the specimen width was held constant (W = 50.80 mm). The data collection instrument was a servohydraulic testing machine. All tests were carried out at room temperature. The findings were as follows : 1. The trend of fracture toughness , Kg , decreases as the thickness of CT-specimen increases. According to the E399 standard , a valid KIC-value is obtained when the minimum specimen thickness must be 620 mm. 2. According to E813 standard, the JIC value is obtained from the multispecimen technique (JIC = 162.70 kJ/m2) and can be converted to KIC (KIC = 183.80 MPa m½). Also, the minimum specimen thickness is 597 mm. 3. Since the agreement between the minimum thickness value obtained from KIC and the predicted value from E399 standard is resonably good , it is possible to define a trend of fracture toughness , KQ , decreases as the specimen thickness increases until the KIC level is asymtoted with the KQ at the 597 mm minimum specimen thickness. | |
dc.format.extent | 5076512 bytes | |
dc.format.extent | 2666792 bytes | |
dc.format.extent | 5980053 bytes | |
dc.format.extent | 4566497 bytes | |
dc.format.extent | 3523883 bytes | |
dc.format.extent | 6034696 bytes | |
dc.format.extent | 5595772 bytes | |
dc.format.extent | 4352407 bytes | |
dc.format.extent | 1650549 bytes | |
dc.format.extent | 4351121 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การวิเคราะห์ผลของความหนาชิ้นทดสอบต่อการทดสอบความต้านทาน ในการแตกร้าวภายใต้สภาวะความเครียดระนาบ ของท่อเหล็กเอ.เอส.เอ็ม.อี.เอส.เอ.-335 เกรด พี.22 | en |
dc.title.alternative | Analysis of specimen thickness effect on plane strain fracture toughness testing in asme sa-335 grade P22 steel pipes | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมเครื่องกล | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Panu_pr_front.pdf | 4.96 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panu_pr_ch1.pdf | 2.6 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panu_pr_ch2.pdf | 5.84 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panu_pr_ch3.pdf | 4.46 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panu_pr_ch4.pdf | 3.44 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panu_pr_ch5.pdf | 5.89 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panu_pr_ch6.pdf | 5.46 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panu_pr_ch7.pdf | 4.25 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panu_pr_ch8.pdf | 1.61 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panu_pr_back.pdf | 4.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.