Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29432
Title: การบำบัดน้ำเสียความเข้มข้นต่ำโดยระบบยูเอเอสบี
Other Titles: Low-strength wastewater treatment by the UASB system
Authors: พีรพงษ์ ทิพยาทร
Advisors: สุรพล สายพานิช
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Issue Date: 2530
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยนี้ได้ศึกษาความเป็นไปได้ในการบำบัดน้ำเสียความเข้มข้นต่ำ และพีเอชสูงด้วยระบบยูเอเอสบี โดยใช้น้ำเสียของโรงงานผลิตเครื่องดื่มสำเร็จรูปจากน้ำนมถั่วเหลือง และ เครื่องดื่มอัดลมอื่นๆ การศึกษาได้กระทำขึ้นสองชุด โดยชุดที่ 1 เป็นการทดลองโดยไม่ใช้ถังสร้างกรด มี 4 การทดลอง ด้วยอัตราสูบน้ำเสียเข้า 89,106,212 และ 318 ลิตรต่อวันตามลำดับ ส่วนการทดลองที่ 2 ได้เพิ่มชุดถังสร้างกรด มี 5 การทดลอง ที่อัตราสูบน้ำเสีย เพื่อให้ได้เวลากักเก็บน้ำ 48, 24, 15, 9, 8 และ 4 ชม. ตามลำดับ ในการทดลองชุดที่ 1 น้ำเสียมีความเข้มข้นซีโอดีเฉลี่ย 923.38, 1011, 1050 และ 1260.5 มก./ล. ตามลำดับ คิดเป็นค่าภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 0.775, 1.011, 2.101 และ 3.782 กก. ซีโอดี/ลบ.ม.-วัน สามารถกำจัดซีโอดีทั้งหมดได้ร้อยละ 94.07, 88.65, 71.18 และ 56.8 มีก๊าซชีวภาพเกิดขึ้นวันละ 15.88, 15.54, 11.28, 0 ลิตร มีก๊าซมีเทนประมาณร้อยละ 90 ส่วนการทดลองชุดที่ 2 มีค่าซีโอดีทั้งหมดเฉลี่ย 851.1, 979.5, 980.6, 1209.1 และ 797 มก./ล. ตามลำดับ และมีค่าภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 0.426, 0.979, 1.569, 3.625 และ 4.782 กก.ซีโอดี/ลบ.ม.-วัน ให้ประสิทธิภาพในการลดค่าซีโอดีร้อยละ 92.67, 94.97, 90.46, 93.75 และ 89.98 น้ำเสียที่ใช้ทดลองค่อนข้างเป็นพิษต่อจุลินทรีย์ เนื่องจากยาฆ่าเชื้อและน้ำยาช่วยทำความสะอาดขวด การใช้ถังสร้างกรดและบ่อพักจะช่วยลดปัญหาได้ ทำให้ระบบบำบัดน้ำเสียความเข้มข้นต่ำโดยระบบยูเอเอสบีนี้ มีความเป็นไปได้สูง
Other Abstract: This research was a feasibility study of an upflow anaerobic sludge blanket (UASB) process treating low-strength waste-water from the soy-bean food drink and carbonated drink bottling and processing plant. The study was set in two stages; the first stage was conducted in four experiments without an acid-forming tank studied on four flowrates; namely, 89, 106, 212 and 318 litres/day. The second stage had 5 sets of experiments and was studied on the effect of 5 HRTS; 48, 24, 15, 9, 8 and 4 hrs, with acid-forming tank prior to the reactor. In the first stage study and at the operating condition of 923.38, 1011, 1050 and 1260.5 mg/l influent COD, the following organic loading of 0.775, 1.011, 2.101 and 3.782 kg. COD/m3.d. and as well as the COD removal efficiency of 94.07, 88.65, 71.18 and 56.8% the biogas production of 15.88, 15.54, 11.28 litres/day, approximately 90% of methane gas, were achieved. For the second stage, the influent COD was 851.1, 979.5, 980.6, 1209.1 and 797 mg/l corresponding to organic loading of 0.426, 0.979, 1.569, 3.625 and 4.782 kg. COD/m3. day and the COD removal efficiency of 92.67, 94.97, 90.46, 93.75 and 89.98%. The wastewater from this industry was, due to biocide and rinsing compounds, rather toxic to the methane forming bacteria. Equalization of wastewater and pre-acidifying in a holding tank could reduce the problem. It was concluded that the UASB system could efficiently treat low-strength wastewater.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมสุขาภิบาล
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29432
ISBN: 9745681733
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pirapong_ti_front.pdf6.25 MBAdobe PDFView/Open
Pirapong_ti_ch1.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open
Pirapong_ti_ch2.pdf9.63 MBAdobe PDFView/Open
Pirapong_ti_ch3.pdf3.13 MBAdobe PDFView/Open
Pirapong_ti_ch4.pdf15.13 MBAdobe PDFView/Open
Pirapong_ti_ch5.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open
Pirapong_ti_ch6.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open
Pirapong_ti_back.pdf11.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.