Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29441
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วานิช ชุติวงศ์ | |
dc.contributor.advisor | จรัสศรี ทีปิรัช | |
dc.contributor.author | ภานุพันธ์ ชัยรัต | |
dc.date.accessioned | 2013-03-08T10:02:37Z | |
dc.date.available | 2013-03-08T10:02:37Z | |
dc.date.issued | 2534 | |
dc.identifier.isbn | 9745792012 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29441 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534 | en |
dc.description.abstract | ปัจจุบันนโยบายที่ดินแห่งชาติด้านการใช้ที่ดิน ซึ่งมีสาระสำคัญ เกี่ยวกับการกำหนดบริเวณการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าไม้ การคุ้มครองพื้นที่ เกษตรกรรม การตั้งถิ่นฐาน และอยู่อาศัย มีพระราชบัญญัติใช้บังคับสนองวัตถุประสงค์ดังกล่าว รวม 5 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503 พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัติป่าสงวน แห่งชาติ พ.ศ. 2507 พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2526 และพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 เนื่องจากรัฐไม่ได้ตราพระราชบัญญัติดังกล่าวข้างต้น ออกมาใช้บังคับ เพื่อกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินของประเทศอย่างเป็นระบบตามกระบวนการวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยตรากฎหมายขึ้นมาเป็นเครื่องมือกำหนดบริเวณและจัดการเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นการเฉพาะเรื่อง ในช่วงเวลาต่างๆ กัน และมอบอำนาจให้เจ้าหน้าที่ของรัฐในกระทรวงทบวง กรมต่างๆ มีหน้าที่ใช้บังคับกฎหมายแต่ละฉบับ ประกอบกับกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานที่ดินของรัฐยังไม่มีความชัดเจนเพียงพอ ดังนั้นจึงก่อให้เกิดปัญหาการใช้กฎหมายควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินสนองนโยบายที่ดินแห่งชาติที่สำคัญตามมา คือ ความไม่เป็นเอกภาพของแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินของประเทศ และความไม่มีประสิทธิภาพของการใช้กฎหมายควบคุม การใช้ประโยชน์ที่ดิน เพราะหน่วยงานของรัฐต่างมีแนวความคิดว่า มีอิสระในการดำเนินงานตามหน้าที่ซึ่งกฎหมายแต่ละฉบับให้อำนาจไว้ โดยละเลยการนำเอาเจตนารมณ์ของกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาพิจารณาใช้ร่วมกัน วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้เสนอแนะให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้กฎหมาย เข้าใจในหลักการความเป็นเอกภาพของการบริหารราชการแผ่นดินว่า ทุกองค์กรของราชการ เป็นส่วนหนึ่งภายใต้ระบบโครงสร้างทางปกครองของรัฐ ซึ่งจะต้องดำเนินงานให้สอดคล้องกัน องค์กรของทางราชการสามารถจัดตั้ง เปลี่ยนแปลง หรือยุบเลิกได้เสมอตามเหตุผลของการจัดการที่มุ่งให้เกิดประโยชน์แก่รัฐ นอกจากนี้มีข้อเสนอแนะต่อไปว่า ในอนาคตประเทศไทยควรมีการตรา กฎหมายว่าด้วยการวางแผนการใช้ที่ดินแห่งชาติ ขึ้นมากำหนดกรอบนโยบาย และวางหลัก เกณฑ์กระบวนการตัดสินใจ ในการนำทรัพยากรที่ดิน ของชาติมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประ เทศ | |
dc.description.abstractalternative | At present there are five fundamental laws whose essence deals with designating areas of land use, conservation and forest use, controlling agricultural land and establishing settlements. These laws are as follows: Game and Resevation and Protection Act B.E. 2503 National Park Act B.E. 2504. National Forest Reserves Act B.E. 2507, Land Development Act B.E. 2526 and City and Town Planning Act B.E. 2518. These laws, however, were not primarily enacted for the purpose of designating systematic land use in accordance with national land use planning. They were to be used as tools for land use planning at a specific time and several government agencies have been authorized to enforce the laws. The laws concerning administration of state land use, however, are not sufficiently clear. Thus, problems arise in the Application of these laws in the attempt to serve national land use policy. Such problems occur as a result of disunity in national land use planning and a deficiency in Application of the laws for controlling land use. Government agencies, acting independently in carrying out their duties which are authorized by each law, disregard other laws which may also be of use. It is therefore suggested that law enforcement officials understand the principle of administrative unity under which each government agency is a unit in the state administrative structure and it has to act accordingly. Government agencies may be established, changed or abolished depending on the state's interests. In the future Thailand should enact national land-use planning laws which clearly designate the policy and the criteria for effectively using land resources for economic and social development and the stability of the country. | |
dc.format.extent | 6059156 bytes | |
dc.format.extent | 4593368 bytes | |
dc.format.extent | 52379155 bytes | |
dc.format.extent | 36340473 bytes | |
dc.format.extent | 49549666 bytes | |
dc.format.extent | 19270302 bytes | |
dc.format.extent | 7288898 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ปัญหาการใช้กฎหมายควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดิเพื่อสนองนโยบายที่ดินแห่งชาติ | en |
dc.title.alternative | Problems of application of land use control laws in response to national land policy | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Panuphan_ch_front.pdf | 5.92 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panuphan_ch_ch1.pdf | 4.49 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panuphan_ch_ch2.pdf | 51.15 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panuphan_ch_ch3.pdf | 35.49 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panuphan_ch_ch4.pdf | 48.39 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panuphan_ch_ch5.pdf | 18.82 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panuphan_ch_back.pdf | 7.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.