Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29459
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดุสิต เครืองาม | |
dc.contributor.author | ภาวัน สยามชัย | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-03-09T04:18:33Z | |
dc.date.available | 2013-03-09T04:18:33Z | |
dc.date.issued | 2535 | |
dc.identifier.isbn | 9745816876 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29459 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535 | en |
dc.description.abstract | ได้มีการศึกษาอย่าง เป็นระบบเกี่ยวกับการผลิตและคุณสมบัติพื้นฐานของฟิล์มบางอะมอร์พัสซิลิคอน (amorphous silicon ย่อว่า a-Si;H) คุณสมบัติทางด้านโครงสร้างเช่น จำนวนแขนขาดของ a-Si:H ตรวจสอบด้วยวิธี ESR ( Electron Spin Resonance ) และนำผลไปเปรียบ เทียบกับ คุณสมบัติการนำไฟฟ้าด้วยแสง พบว่าเงื่อนไขการผลิตที่จะได้ฟิล์มที่มีคุณสมบัติดีที่สุด กล่าวคือจำนวนแขน ขาดน้อยที่สุดคือ อุณหภูมิของแผ่นฐานประมาณ 250 °ซ และใช้ RF power ประมาณ 40 วัตต์ ได้มีการทดลองผลิต a-Si :H เป็นเซลส์แสงอาทิตย์ชนิดฟิล์มบาง ด้วยโครงสร้างรอยต่อชนิด p-i-n บนแผ่นฐานแก้ว และตรวจสอบคุณสมบัติพื้นฐานของเซลล์แสงอาทิตย์ที่ผลิตได้ ด้วยการวัดสเปกตรัม ผลตอบสนองทางแสง และศักย์ไฟฟ้าภายใน (built-in potential) ต่อจากนั้นได้ทำการปรับปรุง ประสิทธิภาพของเซลล์ให้ดีขึ้น ด้วยการหาค่าความหนาที่เหมาะสมของรอยต่อแต่ละชั้น และออกแบบให้ชั้น p ทำจากวัสดุอะมอร์พัสซิลิคอนคาร์ไบด์ซึ่งมีขนาดช่องว่างพลังงานกว้างกว่าชั้น i ผลการปรับปรุงได้ เซลล์แสงอาทิตย์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดเท่ากับ 6.67% ในการนำเซลล์ฯไปใช้งาน ได้ทดลองออกแบบและผลิตเซลล์ฯ ให้มีโครงสร้างเป็นวงจรรวม (Integrated Type) โดยได้ผลิตโมดูลที่มีเซลล์ย่อย 12 ตัว ต่ออนุกรมกันบนแผ่นฐานแก้วเดียวกัน และ ได้นำโมดูล 3 ตัวมาต่ออนุกรมกันเป็นแผงใหญ่ เพื่อนำไปใช้งานชาร์จแบตเตอรี่ขนาด 12 โวลต์ได้สำเร็จ นอกจากนี้ ได้มีการศึกษาการประยุกต์ใช้ฟิล์มบางอะมอร์ฟัสซิลิคอน ในการผลิตเป็นเซนเซอร์ แบบฟิล์มบางตรวจวัดสีของแสง และมีการสร้างวงจรเพื่อประมวลผลตอบจากเซนเซอร์ และนำเอาระบบทั้งชุดไปทดลองใช้งาน ได้ผลว่าเซนเซอร์สามารถบอกสีของแสงอินพุทได้อย่างถูกต้องว่าเป็นสีอะไรในช่วง visible เช่น สีแดง สีเหลือง สีเขียว และ สีน้ำเงิน | |
dc.description.abstractalternative | A series of systematic study has been done on the fabrication technology and basic properties of hydrogenated amorphous silicon (a-Si:H) thin film. The structural property of a-Si:H has been examined by ESR (Electron Spin Resonance) method. The result showed that a-Si:H prepared at a substrate temperature of about 250 °c and RF power of 40 watts contains the lowest dangling bond density. This is consistent with the result from the photoconductivity measurement. The a-Si:H film was applied to a low cost thin film solar cell having a structure of a-Si:H p-i-n junction on a glass substrate. Basic device physics of a-Si:H solar cell such as spectrum response and built-in potential has also been studied. Further effort has been made to improvement of the efficiency of a-Si:H solar cell by optimization of p-i-n layer thickness and employing a wide gap p a-SiC:H as a window layer. The highest conversion efficiency obtained so far is 6.67%. An integrated-type a-Si:H solar cell consisting of 12 subcells connected in series was designed and fabricated on a common glass substrate. A 12 V-battery charger was realized by connecting 3 glass substrates in series. A further effort has been made to apply a-Si:H to a thin film visible color sensor. With the data processing circuit, the sensor can distinguish the color of the light in the visible region such as red, yellow, green, and blue. | |
dc.format.extent | 10601306 bytes | |
dc.format.extent | 2790153 bytes | |
dc.format.extent | 5473064 bytes | |
dc.format.extent | 15295922 bytes | |
dc.format.extent | 11931399 bytes | |
dc.format.extent | 15228838 bytes | |
dc.format.extent | 16876519 bytes | |
dc.format.extent | 10662163 bytes | |
dc.format.extent | 1925969 bytes | |
dc.format.extent | 7034135 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การศึกษาลักษณะสมบัติของอะมอร์ฟัสซิลิคอน และการประยุกต์ใช้งานออปโตอิเล็กทรอนิกส์ | en |
dc.title.alternative | Characterization of amorphoua silicon and its applications to optoelectronic devices | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมไฟฟ้า | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pavan_si_front.pdf | 10.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pavan_si_ch1.pdf | 2.72 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pavan_si_ch2.pdf | 5.34 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pavan_si_ch3.pdf | 14.94 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pavan_si_ch4.pdf | 11.65 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pavan_si_ch5.pdf | 14.87 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pavan_si_ch6.pdf | 16.48 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pavan_si_ch7.pdf | 10.41 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pavan_si_ch8.pdf | 1.88 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pavan_si_back.pdf | 6.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.