Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29540
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปุณณรัตน์ พิชญไพบูลย์ | |
dc.contributor.author | พัชริน สงวนผลไพโรจน์ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-03-10T03:18:28Z | |
dc.date.available | 2013-03-10T03:18:28Z | |
dc.date.issued | 2539 | |
dc.identifier.isbn | 9746335529 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29540 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจสภาพและความต้องการของครูศิลปศึกษา เกี่ยวกับห้องปฏิบัติการทางศิลปะในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษากรุงเทพมหานคร โดยแบ่งออกเป็น 5 ด้าน คือ ด้านลักษณะภายในห้อง ด้านวัสดุอุปกรณ์ ด้านสื่อการสอน ด้านการจัดการเรียนการสอนและด้านบรรยากาศภายในห้องปฏิบัติการ ผู้วิจัยส่งแบบสอบถามไปยังกลุ่มตัวอย่างประชากร ซึ่งเป็นครูศิลปศึกษา ได้รับแบบสอบถามคืนจำนวน 157 ราย จาก 60 โรงเรียน คิดเป็น 87 เปอร์เซ็นต์ นำข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS แล้วนำเสนอในรูปตารางประกอบความเรียง ผลการวิจัยพบว่า สภาพของห้องปฏิบัติการทางศิลปศึกษา โดยส่วนรวมประสบปัญหาเกี่ยวกับห้องปฏิบัติการมีไม่เพียงพอ ขาดแคลนก๊อกน้ำ อ่างน้ำและวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น ส่วนใหญ่จะใช้ห้องเรียนเป็นห้องปฏิบัติการ ซึ่งมีพื้นที่ห้องคับแคบปัจจุบันยังขาดงบประมาณ เพื่อการปรับปรุงและซ่อมแซมจากทางโรงเรียน จากสภาพดังกล่าว ส่งผลถึงความต้องการดังนี้ 1.ด้านลักษณะในห้องปฏิบัติการ มีความต้องการสูงสุดคือ การมีห้องปฏิบัติการที่ออกแบบสำหรับการเรียนศิลปะโดยเฉพาะ การมีห้องปฏิบัติการเฉพาะวิชาแด่ละประเภทและการมีพื้นที่สำหรับเก็บของขนาดใหญ่หรือของจำนวนมาก 2. ด้านวัสดุอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ มีความต้องการสูงสุดคือ ก๊อกน้ำในห้องปฏิบัติการ ตู้เก็บวัสดุสิ้นเปลือง และชั้นวางงานประเภทจิตรกรรมประติมากรรมและงานแขวนประดับที่เสร็จแล้ว 3. ด้านสื่อการสอนในห้องปฏิบัติการ มีความต้องการสูงสุดคือ ตู้สำหรับเก็บสื่อการสอน การมีสื่อการสอนเฉพาะในหมวดวิชาและเครื่องวิดิทัศน์ 4. ด้านการจัดการเรียนการสอนในห้องปฏิบัติการ มีความต้องการสูงสุดคือ การมีเวลาให้นักเรียนทำกิจกรรมอิสระอย่างชัดเจน การจัดโต๊ะปฏิบัติการแบบกลุ่ม 5. ด้านบรรยากาศในห้องปฏิบัติการ มีความต้องการสูงสุดคือ การจัดแสดงผลงานนักเรียนในห้องปฏิบัติการ การมีห้องที่มีบริเวณเปิดโล่งเห็นทิวทัศน์ภายนอกและการที่ครูและนักเรียนมีส่วนร่วมในการตกแต่งผลงานศิลปะภายในห้องปฏิบัติการร่วมกัน | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to survey the state and needs of art education teachers concerning art studio in secondary schools such as studio lay out, studio facilities, instructional media, teaching and learning organization and the atmosphere in art studio. The researcher sent questionnaires to the samples which are art teachers. One hundred and fifty seven questionnaires (87 percent) were returned from 60 schools. The obtained data was analyzed by percentage mean and standard deviation by using SPSS - analyzed program. It was found that the state of art education teachers concerning to art studio in secondary school were as following: 1. Art teachers faced problems with inadequate number of art studio 2.The rooms were inadequate of water supply and sinks 3. Common classrooms were mainly used as art studio 4. The art studios were deficient supported budgets. It was also found that art education teachers’ needs for the art studio were as following: 1. Studio lay out; the art studio which designed for only art teaching is considered the most important, in addition, a particular art studio can bring up better benefit for art teaching. Also art studio should have enough space for storing large items. 2. Studio facilities; taps, sinks, shelves for storing and displaying paintings and I sculptures works, are considered the most important need. 3. Instructional media; cabinet for keeping media, the particular medias for art teaching such as video player, are considered the most important need. 4. Teaching and learning organization; allow students to work their individual activities in art studio, setting tables in groups, are considered the most important need. 5. The atmosphere in art studio; the setting of student’s art works exhibition, the room with widely window allowed students to see outside view; both teachers and students should involve in displaying student’s art works, are considered the most important need. | |
dc.format.extent | 3836713 bytes | |
dc.format.extent | 4981252 bytes | |
dc.format.extent | 21768821 bytes | |
dc.format.extent | 2448138 bytes | |
dc.format.extent | 10077232 bytes | |
dc.format.extent | 11543620 bytes | |
dc.format.extent | 10155675 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การสำรวจสภาพและความต้องการของครูศิลปศึกษา เกี่ยวกับห้องปฏิบัติการทางศิลปะในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพนมหานคร | en |
dc.title.alternative | A survey of state and needs of art education teachers concerning art studio in secondary schools under the Jurisdiction of Department Of General Education, Bangkok Metropolis | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ศิลปศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Patcharin_sa_front.pdf | 3.75 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Patcharin_sa_ch1.pdf | 4.86 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Patcharin_sa_ch2.pdf | 21.26 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Patcharin_sa_ch3.pdf | 2.39 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Patcharin_sa_ch4.pdf | 9.84 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Patcharin_sa_ch5.pdf | 11.27 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Patcharin_sa_back.pdf | 9.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.