Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29694
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริชัย กาญจนวาสี | |
dc.contributor.advisor | นงลักษณ์ วิรัชชัย | |
dc.contributor.author | สุวิมล ติรกานันท์ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-03-12T10:29:24Z | |
dc.date.available | 2013-03-12T10:29:24Z | |
dc.date.issued | 2538 | |
dc.identifier.isbn | 9746319671 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29694 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ดัชนีบ่งชี้ความเป็นเอกมิติของแบบสอบถามที่ได้จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน โดยใช้เมตริกซ์ 4 ชนิด ประกอบด้วย tetrachoric correlation matrix 3 ชนิด คือ เมตริกซ์แบบเดิม เมตริกซ์ที่มีการปรับเรียบข้อมูล เมตริกซ์ที่มีการแก้ค่าการเดา และ variance-convariance matrix ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของจำนวนข้อสอบ จำนวนผู้สอบ และค่าความยากของข้อสอบ ตลอดจนเพื่อศึกษาถึงคุณภาพของดัชนีด้านความคงที่และด้านความไวในการตรวจสอบความเป็นเอกมิติของแบบสอบ คะแนนจากแบบสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย วิชาภาษาอังกฤษ กข ปี 2536 และคะแนนจากแบบสอบวิชาภาษาอังกฤษและวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ของวรนุช แหยมแสง (2537) ถูกนำมาวิเคราะห์เพื่อตอบปัญหาการวิจัย โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS, LISREL, TESTFACT และ BILOG ผลการวิจัยพบว่า 1. ในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ ดัชนี ER และ ERR มี ความเหมาะสมเมื่อคำนวณได้จาก variance-covariance matrix และในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ดัชนี AGFI, NINFI และ CN มีความคงที่เมื่อคำนวณได้จาก variance-convariance matrix ดัชนี X2 มีความเหมาะสมเมื่อคำนวณได้จาก variance-covariance matrix ดัชนี G2 มีความเหมาะสมเมื่อคำนวณได้จาก tetrachoric correlation matrix ที่มีการปรับเรียบข้อมูล ส่วนดัชนี RMR มีความคงที่เมื่อคำนวณได้จาก tetrachoric correlaiton matrix แบบเดิม 2. ในด้านคุณภาพของดัชนี ดัชนีที่มีความคงที่และมีความไว ได้แก่NNFI ดัชนีที่ไม่มีความคงที่แต่มีความไว ได้แก่ คือ ดัชนี ERR ดัชนีที่มีความคงที่แต่ไม่มีความไว ได้แก่ ดัชนี AGFI และ ER ส่วนดัชนีที่ไม่มีความคงที่และไม่มีความไว คือ ดัชนี G2, X2, RMR, และ CN นอกจากนี้การฝ่าฝืนข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับความเป็นเอกมิติของแบบสอบตามแนวทฤษฎีการตอบข้อสอบ (IRT)ด้วยการเจือปนในมิติอื่นเข้าไปในแบบสอบเดิม เมื่อวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม BILOG พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงค่าพารามิเตอร์ ทำให้ค่าอำนาจจำแนก (a) โดยเฉลี่ยสูงขึ้น ค่าความยาก (b) โดยเฉลี่ยลดลง ค่าการเดา (c) สูงขึ้น ค่าสารสนเทศของข้อสอบ (IIF) และค่าสารสนเทศของแบบสอบ (TIF) โดยเฉลี่ยลดลง | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to analyse the quality of unidimensionality indicators of test by means of exploratory factor analysis (EFA) and confirmatory factor analysis (CFA), using 4 different matrix, namely, tetrachoric correlation matrix, smoothed tetrachoric correlation matrix, tetrachoric correlation matrix corrected for guessing and variance-covariance matrix; under different examinee size, test length and item difficulty. The indicators were compared to detect their sensitivity and consistency. The English AB examination test scores of the University Entrance Examination 1993, and Woranuch's English and Mathematic test scores in Prathom 5 were analysed by the computer packages SPSS, LISREL, TESTFACT, BILOG. The findings were as follow : 1. In EFA, ER and ERR, calculated from variance-covariance matrix were more appropriate than those calculated from other matrices. In CFA, AGFI, NNFI and CN, calculated from variance-covariance matrix and RMR calculated from tetrachoric correlation matrix were consistent; G2, calculated from smoothed tetrachoric correlation matrix and X2 calculated from variance-covariance matrix were more appropriate than those calculated from other matrices. 2. In term of quality, NNFI was consistent and sensitive; ERR was sensitive but not consistent; AGFI and ER were consistent but not sensitive; while G2 , X2, RMR and CN were not consistent and not sensitive. Besides, it was found that when the test was mixed by other dimensional test items, the violation of the unidimensionality assumption resulted in inconsisty of parameter estimation using BILOG. The item discrimination and guessing value increased while item difficulty, item information function and test information function decreased. | |
dc.format.extent | 7460074 bytes | |
dc.format.extent | 10141377 bytes | |
dc.format.extent | 19255020 bytes | |
dc.format.extent | 4994272 bytes | |
dc.format.extent | 55329966 bytes | |
dc.format.extent | 2689837 bytes | |
dc.format.extent | 32865972 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การวิเคราะห์ดัชนีบ่งชี้ความเป็นเอกมิติของแบบสอบตามโมเดลโครงสร้างความแปรปรวนร่วม | en |
dc.title.alternative | An analysis of unidimensionlity indicators of test based on covariance structure odel | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | es |
dc.degree.discipline | วิจัยการศึกษา | |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suvimon_ti_front.pdf | 7.29 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suvimon_ti_ch1.pdf | 9.9 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suvimon_ti_ch2.pdf | 18.8 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suvimon_ti_ch3.pdf | 4.88 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suvimon_ti_ch4.pdf | 54.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suvimon_ti_ch5.pdf | 2.63 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suvimon_ti_back.pdf | 32.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.