Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30090
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอังสนา บุณโยภาส-
dc.contributor.advisorธเรศ ศรีสถิตย์-
dc.contributor.authorศมลวรรณ วรกาญจน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialฉะเชิงเทรา-
dc.date.accessioned2013-03-20T07:38:21Z-
dc.date.available2013-03-20T07:38:21Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30090-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อหาเกณฑ์ในการคัดเลือกพื้นที่ฝังกลบขยะ ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนน้อยที่สุด เสนอแนะปัจจัยที่ต้องพิจารณาเพื่อหาศักยภาพการใช้งานพื้นที่หลังการฝังกลบเสร็จสิ้น ศึกษาปัญหาพื้นที่ฝังกลบขยะของเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา และเสนอแนะพื้นที่ที่เหมาะสมให้แก่เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา ซึ่งในปัจจุบันยังขาดแคลนพื้นที่ จากการศึกษาพบว่า มี 8 เกณฑ์ที่ต้องนำมาใช้พิจารณา คือ ควรมีระยะห่างจากจุดกำเนิดขยะในระยะ 10-15 กิโลเมตร ควรอยู่ห่างจากถนนหลักไม่เกิน 7.5 กิโลเมตร ไม่ควรมีความลาดชันมากกว่า 3% ควรมีดินที่ระบายน้ำได้ต่ำ อยู่ห่างจากแหล่งน้ำผิวดิน ไม่น้อยกว่า 1 กิโลเมตร มีน้ำใต้ดินที่ลึกมากกว่า 20 เมตร ควรอยู่ห่างจากชุมชนหนาแน่นปานกลางไม่น้อยกว่า 2 กิโลเมตร และมีการใช้ที่ดินในปัจจุบันเป็นที่เหมืองเก่าหรือบ่อขุดเก่า หรือเป็นพื้นที่ทุ่งหญ้ารกร้างหรือพื้นที่รอการพัฒนา นำเกณฑ์มาสร้างแบบจำลอง แล้ววิเคราะห์ด้วย Arc/GIS หลังจากนั้นทำการประมาณการปริมาณขยะในอนาคต เพื่อคำนวณหาขนาดของพื้นที่ฝังกลบที่เหมาะสม จากกรณีศึกษาพบว่า พื้นที่ฝังกลบขยะเมื่อสิ้นสุดการใช้งานแล้ว จะมีการพัฒนาเพื่อใช้งานเป็นพื้นที่สาธารณะประโยชน์อยู่ 3 ประเภทคือ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ และสนามกีฬา โดยสามารถสรุปปัจจัยในการประเมินหาศักยภาพเพื่อใช้งานพื้นที่หลังการฝังกลบ 6 ประการ คือ การใช้งานพื้นที่โดยรอบ ทิศทางการเติบโตของเมือง ความหนาแน่นของประชากร การเข้าถึง คุณภาพเชิงทัศน์ และความต้องการพื้นที่สาธารณะ ผลการศึกษาพบว่า พื้นที่ที่เหมาะสมที่สุด มีขนาดประมาณ 776 ไร่ อยู่ที่ตำบลเขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม ห่างจากเทศบาลเมืองฉะเชิงเทราประมาณ 60 กิโลเมตร และหลังการฝังกลบเสร็จสิ้นแล้ว สามารถนำไปพัฒนาให้เป็นสวนพฤกษศาสตร์ เพื่อใช้เป็นที่สะสมและวิจัยพันธุ์ไม้ และเป็นพื้นที่พักผ่อนของประชาชนได้ โดยเกณฑ์และแบบจำลองในการหาพื้นที่ และปัจจัยในการหาศักยภาพการใช้งานหลังการฝังกลบที่สร้างขึ้นในงานวิจัยนี้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ เพื่อหาพื้นที่ฝังกลบขยะที่สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนที่น้อยที่สุดในพื้นที่อื่นๆได้ และยังสามารถทำให้ชุมชนเห็นถึงประโยชน์ของพื้นที่ในอนาคตได้อีกด้วยen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to determine criteria for sanitary landfill site selection; identify factors that should be considered in finding potential for post used; and to propose appropriate site to construct sanitary landfill for Chacheongsao Municipality. This study finds 8 criteria for sanitary landfill site selection consisting of (1) the distance should be approximately 10-15 km. from source of garbage; (2) the area should be situated less than 7.5 km. from main road; (3) the slope should not more than 3%; (4) the soil should have poor drainage capacity; (5) the distance from surface water should be at least 1,000 m.; (6) the underground water is deeper than 20 m.; (7) the location should be further from medium density community at least 2,000 m.; and (8) the existing land use should be old mining site, abandon pond or field; and undeveloped lands. Then, the diagram models to run the Arc/GIS was formulated, and the amount of future’s garbage was estimated in order to figure out the appropriated land size for sanitary landfill. From case studies, this research finds 3 types of sanitary landfill post used which are park, botanical garden, and sport facility. The type of post used was considered according to 6 factors, which are the surrounding land use, direction of city growth, population density, accessibility, visual quality, and type of public area that needed. Result from the analysis shows that an appropriate site is 776 rai, situated in Khon Hin Sorn, Phanom Sarakham, which is 60 km. away from Chacheongsao Municipality. The recommended post used is a botanical garden that can be used for research and recreation. Models created in this study can be applied to perform sanitary landfill site selection in any area, which will minimize an environmental impact while benefit to community. The factors identifying potential of post used can also be applied to any sanitary landfill site, which can make people aware of other benefit of the site.en
dc.format.extent10939740 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1135-
dc.subjectสถานที่กำจัดขยะ -- ไทย -- ฉะเชิงเทราen
dc.subjectหลุมฝังกลบขยะ -- ไทย -- ฉะเชิงเทราen
dc.subjectการใช้ที่ดิน -- ไทย -- ฉะเชิงเทราen
dc.subjectการใช้ที่ดิน -- แง่สิ่งแวดล้อมen
dc.subjectระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์en
dc.subjectการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ -- ไทย -- ฉะเชิงเทราen
dc.titleการเลือกพื้นที่ฝังกลบขยะและการเตรียมการใช้งานหลังการฝังกลบ กรณีศึกษา : เทศบาลเมืองฉะเชิงเทราen
dc.title.alternativeSanitary landfill site selection and preparation for post used, case study : Chacheangsao Municipalityen
dc.typeThesises
dc.degree.nameภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภูมิสถาปัตยกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorangsana.b@chula.ac.th-
dc.email.advisorfentss@eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1135-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
samonwan_wo.pdf10.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.