Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30494
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารีรัตน์ สุพุทธิธาดา-
dc.contributor.advisorวัชรพงษ์ โขวิฑูรกิจ-
dc.contributor.authorวชิรยงยศ ทิมาบุตร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-04-09T05:21:43Z-
dc.date.available2013-04-09T05:21:43Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30494-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractโรคเบาหวานเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่ทำให้เกิดปลายประสาทเสื่อม ผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการปลายประสาทเสื่อมส่วนใหญ่ มักมีความบกพร่องในการทำงานของประสาทรับความรู้สึก โดยเฉพาะการรับรู้สัมผัสและการรับรู้การสั่น มีงานวิจัยหลายฉบับที่ศึกษาผลของการใช้สัญญาณรบกวนทางกลที่ใส่เข้าไปในระบบเพื่อเพิ่มความสามารถในการรับรู้สัมผัสและการรับรู้การสั่นในผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการปลายประสาทเสื่อม การศึกษาวิทยานิพนธ์นี้ได้มีการประดิษฐ์แผ่นรองเท้าแบบสั่นที่มีราคาถูก และมีการประยุกต์ใช้สัญญาณรบกวนสุ่มเทียมในการสร้างการสั่น จากนั้นนำแผ่นรองเท้าแบบสั่นที่ประดิษฐ์ขึ้นมาไปทำการทดสอบเพื่อศึกษาผลของการใช้สิ่งประดิษฐ์ในการกระตุ้นการรับรู้สัมผัสและรับรู้การสั่น ในผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการปลายประสาทเสื่อมระดับแรกเริ่มจนถึงระดับความรุนแรงปานกลาง จำนวน 10 คน อายุ 44 – 75 (59.10 ± 12.71) ปี และมีค่า BMI อยู่ในช่วง 17.67 – 37.22 (28.02 ± 6.60) กก./ม² ผลจากการศึกษาวิจัยแสดงให้เห็นว่าสิ่งประดิษฐ์แผ่นรองเท้าแบบสั่น สามารถสร้างสัญญาณรบกวนสุ่มเทียมความถี่ต่ำระหว่าง 0 – 100 เฮิรตซ์ สัญญาณที่ได้ถูกป้อนให้ตัวขับเร้าเพื่อนำไปขับตัวสั่นทำให้แผ่นรองเท้าเกิดการสั่น จากการศึกษาวิจัยสามารถสรุปได้ว่า แผ่นรองเท้าแบบสั่นที่ประดิษฐ์เองขึ้นนี้ สามารถช่วยกระตุ้นความรู้สึกในการรับรู้ให้ดีขึ้นได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p < 0.05 ซึ่งทำการพิสูจน์โดยใช้เครื่อง VSA 3000 ในการวัดผลเปรียบเทียบก่อนใช้และหลังใช้สิ่งประดิษฐ์แผ่นรองเท้าแบบสั่นในการกระตุ้นเป็นเวลา 1 ชั่วโมงen
dc.description.abstractalternativeDiabetes Mellitus is a common disease which can cause peripheral neuropathy. Most diabetic peripheral neuropathic patients had impairment of the sensory nerve functions, especially tactile sensation and vibratory perception. There are several studies that revealed the effects of mechanical noise in enhancing the tactile perception and vibratory perception in diabetic peripheral neuropathic patients. This study had developed a low cost device for applying pseudorandom noise in the form of a vibrating shoe insert. Then, we used the developed device to study the effect of the device on the stimulation of tactile sensation and vibratory sensation in 10 diabetic peripheral neuropathic patients with mild to moderate severity. The subjects have 44 – 75 (59.1 ± 12.71) years of age and BMI 17.67 – 37.22 (28.02 ± 6.60) kg/m². The results of the study demonstrate that the device can generate low frequency (0 – 100 Hz) pseudorandom noise that is applied to the actuators to generate vibrations in the foot orthoses. Moreover, the vibrational foot orthoses can significantly (p < 0.05) improve tactile perception and vibratory sensation after one hour of using the orthoses.en
dc.format.extent2972921 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1193-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectระบบประสาทส่วนปลายen
dc.subjectเบาหวานen
dc.subjectเบาหวาน -- ผู้ป่วยen
dc.titleแผ่นรองเท้าแบบสั่นเพื่อกระตุ้นการรับรู้สัมผัสในผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการปลายประสาทเสื่อมen
dc.title.alternativeVibrational foot orthoses for stimulation of tactile sensation in diabetic peripheral neuropathic patientsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมชีวเวชes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsareerat1@yahoo.com-
dc.email.advisoradvmath@hotmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1193-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wachirayongyot_th.pdf2.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.