Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30563
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจรวย บุญยุบล-
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน-
dc.contributor.authorธวัชชัย กิจพานิชวิเศษ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-04-19T03:58:15Z-
dc.date.available2013-04-19T03:58:15Z-
dc.date.issued2526-
dc.identifier.isbn9745635642-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30563-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เรื่อง เทคนิคและเศรษฐศาสตร์ของระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าแบบโฟโตโวลตาอิค สำหรับพื้นที่ห่างไกล ได้กล่าวถึงความเป็นมาในการใช้พลังงานไฟฟ้าของสถานีรับ-ส่งสัญญาณเขาบ้านดอย อ.พาน จ.เชียงราย ขององค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ซึ่งสถานีรับ-ส่งสัญญาณดังกล่าวจะอยู่ห่างไกลจากระบบสายส่งไฟฟ้าของการไฟฟ้าของรัฐฯ ดังนั้นวิทยานิพนธ์นี้จะกล่าวถึงการใช้พลังงานไฟฟ้าที่ใช้กับสถานีรับ-ส่งสัญญาณ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเริ่มจากการใช้พลังงานไฟฟ้าจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล 2 เครื่อง ผลัดเปลี่ยนกันจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับสถานีรับ-ส่งสัญญาณ จนกระทั่งถึงการใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซลและแบตเตอรี่ ลักษณะของโหลดโดยทั่วไปของสถานีรับ-ส่งสัญญาณ จะใช้แรงดันและกระแสไฟฟ้าคงที่ตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งมีค่าความต้องการพลังงาน 10,680 KW-H/ปี แต่เนื่องจากสถานีฯ ตั้งอยู่ในพื้นที่ห่างไกลซึ่งลำบากต่อการขนส่งน้ำมันเชื้อเพลิง เนื่องจากสถานีตั้งอยู่บนยอดเขา จึงต้องมีการศึกษาการนำระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าแบบโฟโตโวลตาอิคมาใช้กับสถานีรับ-ส่งสัญญาณ แทนการใช้พลังงานไฟฟ้าที่ได้จากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล ซึ่งจำเป็นจะต้องศึกษา Model Cost ของระบบฯ เพื่อให้เหมาะสมต่อการลงทุนในการติดตั้ง ดังนั้นวิทยานิพนธ์นี้จึงเน้นเกี่ยวกับการออกแบบระบบฯ และวิเคราะห์ทางด้านเศรษฐศาสตร์ของระบบฯ ซึ่งขนาดของแผงเซลแสงอาทิตย์ที่เหมาะสมกับสถานี จะมีขนาด 115 M² และขนาดของแบตเตอรี่ที่ใช้ในการเก็บประจุไฟฟ้าจะมีขนาด 330 KW-H ซึ่งขนาดของแบตเตอรี่ดังกล่าวจะสามารถเก็บประจุไฟฟ้าไว้ใช้ได้ถึง 11 วัน ในกรณีที่ไม่มีแสงอาทิตย์ เนื่องจากสถิติสูงสุดของวันที่ไม่มีแสงอาทิตย์จะมีถึง 11 วัน [3] แต่จากการวิเคราะห์ทางด้านเศรษฐศาสตร์ในขณะนี้ระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าแบบโฟโตโวลตาอิค ยังไม่เหมาะสมต่อการลงทุน เนื่องจากราคาต้นทุนในการผลิตพลังงานไฟ้ฟาของระบบโฟโตโวลตาอิค ยังสูงกว่าราคาต้นทุนในการผลิตพลังงานไฟฟ้าโดยใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซลอยู่มาก แต่อย่างไรก็ตาม ระบบโฟโตโวลตาอิคจะมีความเหมาะสมในการติดตั้งก็ต่อเมื่อค่าตัวแปร อันได้แก่ ราคาของน้ำมันเชื้อเพลิง ราคาของแบตเตอรี่ ราคาของแผงเซลแสงอาทิตย์ และค่าภาษี มีการเปลี่ยนแปลง-
dc.description.abstractalternativeThe thesis "Technical and Economics Aspects of the Unconcentrated Photovoltaic Power Generating Systems" describes the evolution of the use of electric power of the Telephone Organisation of Thailand's Khao Ban Doi repeater station of Pan, Chiangrai (the station situated far from the power transmission networks of the Government) from past to the present. The story began with the use of electric power of 2 diesel engines alternately operating the power generator to the use of the power generator utilizing diesel engine and battery as secondary source of power supplied to the stations. The general load pattern of the repeater station is of a constand voltage and current all over 24 hours with power needs standing at 10,680 kWh a year. However, for reasons that the station is located in a remote mountaintop area that is not within easy access to fuel oil, the study has thus been made of substituting the use of the Photovoltaic Power Generating System at the repeater station for the existing diesel-engine generator. It is therefore necessary to study the model cost of the proposed system. The Thesis emphasizes the design technique of the Photovoltaic System and its economic aspect. The size of a solar panel array suited to the station application will be a 115-square-meter one; while that that of a storage battery will be a 330 kWh capable of holding 11-day power supply in anticipation of overcast days when there is no sunlight (11 consecutive days being the longest period where there is no sunlight in record). The economic analyses, however, indicate that the investment on the unconcentrated photo-voltaic power generating system will not at present viable, due to its inordinately higher production cost than that of diesel based power generation. However, the unconcentrated photovoltaic power generating system will eventually prove suitable for installation when and only when there is change in such variables as costs of fossil fuel, of storage batteries and of solar panel arrays and taxes.-
dc.format.extent4695204 bytes-
dc.format.extent2252160 bytes-
dc.format.extent2023985 bytes-
dc.format.extent7254449 bytes-
dc.format.extent19069551 bytes-
dc.format.extent3703625 bytes-
dc.format.extent1344827 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleเทคนิคและเศรษฐศาสตร์ของระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าแบบโฟโตโวลตาอิค สำหรับพื้นที่ห่างไกลen
dc.title.alternativeTechnical and economic aspects of unconcentrated photovoltaic power generating systems as applied to remote areasen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tawatchai_ki_front.pdf4.59 MBAdobe PDFView/Open
Tawatchai_ki_ch1.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open
Tawatchai_ki_ch2.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open
Tawatchai_ki_ch3.pdf7.08 MBAdobe PDFView/Open
Tawatchai_ki_ch4.pdf18.62 MBAdobe PDFView/Open
Tawatchai_ki_ch5.pdf3.62 MBAdobe PDFView/Open
Tawatchai_ki_back.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.