Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31071
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกื้อ วงศ์บุญสิน-
dc.contributor.authorพิทักษ์ คู่เจริญถาวร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-05-18T15:58:34Z-
dc.date.available2013-05-18T15:58:34Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746336908-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31071-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการมีส่วนร่วมในการเลี้ยงดูบุตรของชายที่เป็นบิดาของนักเรียนอนุบาลในกรุงเทพมหานคร และศึกษาความแตกต่างของการมีส่วนร่วมในการเลี้ยงดูบุตรของชายที่เป็นบิดาตามลักษณะทางประชากร เศรษฐกิจ สังคม โดยการศึกษาครั้งนี้ได้ทำการสุ่มตัวอย่างจากชายที่มีบุตรอยู่ในโรงเรียนอนุบาลในกรุงเทพมหานคร รวมทั้งสิ้น 730 ราย จากการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีตารางไขว้ แล้วทดสอบด้วยค่าไดสแควร์ ผลปรากฎว่าตัวแปร อาชีพภรรยา สถานภาพการทำงาน สถานภาพการทำงานของภรรยา ระดับการศึกษา การช่วยงานบ้าน จำนวนบุตร อายุ ระยะเวลาสมรส และผู้ดูแลบิดาในวัยเด็ก มีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 โดยที่ ตัวแปรทางด้านอาชีพ สถานภาพการทำงาน เป็นตัวแปรที่ไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ได้กล่าวไว้ ซึ่งระดับนัยสำคัญทางสถิติดังกล่าว จะแสดงให้เห็นถึงระดับอิทธิพลของตัวแปรต่างๆ ที่มีต่อตัวแปรทางด้านการมีส่วนร่วมในการเลี้ยงดูบุตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งตัวแปรทางด้านการช่วยงานบ้าน พบว่า มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับการมีส่วนร่วมในการเลี้ยงดูบุตร โดยมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งในระดับ 2 และ 3 ตัวแปร ซึ่งกล่าวได้ว่าชายที่มีส่วนในการช่วยงานบ้านก็มีส่วนในการเลี้ยงดูบุตรด้วยเช่นกัน ในทางตรงกันข้าม ตัวแปรอาชีพ รายได้ครัวเรือน และแบบของครอบครัว ก็พบว่า ไม่มีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ส่วนทางด้านพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการเลี้ยงดูบุตร พบว่า บิดาส่วนใหญ่ (ร้อยละ 55.1) จะมีส่วนร่วมในการเลี้ยงดูในระดับปานกลาง โดยที่ในกลุ่มชายที่มีการเลี้ยงดูบุตรในระดับต่ำและในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 22.9 และ 22.0 ตามลำดับ เมื่อพิจารณาถึงรุปแบบในการมีส่วนร่วมในการเลี้ยงดูบุตร พบว่า กลุ่มชายที่มีส่วนร่วมในการเลี้ยงดูบุตรในระดับสูงนั้น ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของการเป็นผู้คุ้มครองอันตรายแก่บุตร ในขณะที่รูปแบบในการวางแผนและจัดเตรียมเพื่อบุตรคิดเป็นสัดส่วนที่น้อยมาก เมื่อนำปัจจัยทางประชากร เศรษฐกิจ และสังคม มาวิเคราะห์แบบการวิเคราะห์จำแนกพหุ พบว่า อาชีพภรรยา ระดับการศึกษา การช่วยงานบ้าน จำนวนบุตร และผู้ดูแลบิดาในวัยเด็กมีผลต่อการมีส่วนร่วมในการเลี้ยงดูบุตรของชายที่เป็นบิดา โดยความสัมพันธ์ดังกล่าวเป็นไปตามสมมติฐาน และหลังจากนำตัวแปรอิสระอื่นๆ มาร่วมพิจารณาด้วย พบว่า มีความสามารถในการพยากรณ์ตัวแปรการมีส่วนร่วมในการเลี้ยงดูบุตรลดลงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ส่วนตัวแปรการช่วยงานบ้าน พบว่า ทั้งก่อนปรับ และหลังปรับ โดยการนำตัวแปรอิสระอื่นๆ มาร่วมพิจารณาด้วย จะมีความสามารถในการพยากรณ์คงเดิม กล่าวคือ การช่วยงานบ้านจะมีผลต่อตัวแปรการมีส่วนร่วมในการเลี้ยงดูบุตร-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study are to investigate patterns of the paternal participation in childcare and socio-economic and demographic differentials of the paternal participation in childcare. The sample for this study represents the fathers who have children at kindergarten in Bangkok metropolis. There are 730 fathers in total. This study used cross-tabulation analysis, the chi-squared test and multiple classification analysis. The study showed that several variables such as wife's occupation, wife's work status, work status, education level, household chores, number of children, age, duration of marriage and father's childhood caretakers have the impact on childcare at 0.05 level of significance. It was also found that household chores has strongly significance related to the participation in childcare. On the contrary, household income, occupation and family pattern were not significantly related to paternal participation in childcare (level of significance less than 0.05). Considering the behavior of the paternal participation in childcare, the majority of the fathers (55.1%) participated in childcare at the moderate level, followed by the low and the high level of participation (22.9% and 22.0%), respectively. In addition, those who were in the high level of participation in childcare stated that protection was a prime obligation, while planning for children's daily life and future were in the lowest priority. The multiple classification analysis method was used to analyze the relationship between the paternal participation in childcare and selected socio-economic and demographic variables. It was found that wife's occupation, father's education, father's household chores role, number of children and father's childhood caretakers had an influence on the paternal participation in childcare. The relationships accorded with the hypothesis. However, father's household chores role had more effect on the paternal participation in childcare.-
dc.format.extent3806478 bytes-
dc.format.extent13894181 bytes-
dc.format.extent8527357 bytes-
dc.format.extent17135102 bytes-
dc.format.extent3176559 bytes-
dc.format.extent6275458 bytes-
dc.format.extent4009218 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการมีส่วนร่วมในการเลี้ยงดูบุตรของชายที่เป็นบิดาของนักเรียนอนุบาล ในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativePaternal participation in childcare at the kindergarten level in Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสังคมวิทยามหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pitak_kh_front.pdf3.72 MBAdobe PDFView/Open
Pitak_kh_ch1.pdf13.57 MBAdobe PDFView/Open
Pitak_kh_ch2.pdf8.33 MBAdobe PDFView/Open
Pitak_kh_ch3.pdf16.73 MBAdobe PDFView/Open
Pitak_kh_ch4.pdf3.1 MBAdobe PDFView/Open
Pitak_kh_ch5.pdf6.13 MBAdobe PDFView/Open
Pitak_kh_back.pdf3.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.