Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31387
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลยศ อุดมวงศ์เสรี-
dc.contributor.authorศุภศิษฐ์ ศรีสวัสดิ์นุภาพ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-05-26T13:50:22Z-
dc.date.available2013-05-26T13:50:22Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31387-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractระบบจำหน่ายไฟฟ้าเป็นส่วนที่มีพลังงานไฟฟ้าสูญเสียสูงที่สุด การปรับปรุงระบบเพื่อลดพลังงานสูญเสียสามารถทำได้หลายวิธี วิธีการหนึ่งที่มีประสิทธิภาพและมีค่าใช้จ่ายไม่สูงมากก็คือ การจัดเรียงสายป้อนเพื่อลดพลังงานไฟฟ้าสูญเสีย อย่างไรก็ดี ปัญหาการจัดเรียงสายป้อนใหม่ให้มีพลังงานไฟฟ้าต่ำสุดเป็นปัญหาที่ซับซ้อนเนื่องจากมีตัวแปรที่ต้องพิจารณาเป็นจำนวนมาก ขั้นตอนวิธีทางพันธุกรรมเป็นการหาค่าเหมาะสมแบบหนึ่งที่สามารถแก้ไขปัญหาค่าขีดสุดที่มีความซับซ้อนได้ดี วิธีดังกล่าวอาศัยการเลียนแบบวิธีการถ่ายทอดทางพันธุกรรมซึ่งประกอบด้วย การคัดเลือก การข้ามสายพันธุ์ และการผ่าเหล่า ในวิทยานิพนธ์นี้เสนอวิธีการจัดเรียงสายป้อนในระบบจำหน่ายโดยประยุกต์ใช้พื้นฐานขั้นตอนวิธีทางพันธุกรรมเพื่อหารูปแบบโครงสร้างของระบบจำหน่ายที่ทำให้พลังงานไฟฟ้าสูญเสียต่ำที่สุด วิธีที่นำเสนอในวิทยานิพนธ์นี้สามารถใช้ได้กับระบบจำหน่ายไฟฟ้าแบบเรเดียลทั้งกรณีโหลดสมดุลและโหลดไม่สมดุล วิธีการที่นำเสนอได้ถูกทดสอบกับระบบIEEE 16-bus และระบบ33-bus ระบบทดสอบของRoy Billinton และระบบของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จากผลการศึกษาทั้ง 4ระบบพบว่าระบบมีพลังงานไฟฟ้าสูญเสียลดลง 10.21% , 36.43% , 7.59% , 22.18% ตามลำดับ ผลการทดสอบที่ได้เป็นที่น่าพอใจen
dc.description.abstractalternativeDistribution system generally has the highest power loss compared to other parts of a power system. There are several methods to cope with this loss calculation. Feeder reconfiguration for power loss reduction is one of the most efficient methods that consume less investment cost. However, it is quite complicated since there are many related variables. Genetic algorithm is an optimization method that is suitable, and can be easily applied to such complicated problems. It imitates principles of genetics comprising reproduction, crossover, and mutation. This thesis proposes a distribution feeder reconfiguration for loss reduction using a genetic algorithm to find the optimal feeder configuration that causes minimum loss. The proposed method can be applied with both balanced and unbalanced radial systems. It is tested with IEEE 16-bus system and 33-bus system , Roy Billinton Test System and PEA system. Satisfactory results are obtained. The configurations obtained from the proposed method can reduce energy losses of 10.21 % , 36.43 % , 7.59 % and 22.18 % , respectively.en
dc.format.extent1895338 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1177-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectจีเนติกอัลกอริทึมen
dc.subjectระบบไฟฟ้ากำลัง -- กำลังงานสูญเสียen
dc.subjectการจ่ายพลังงานไฟฟ้าen
dc.subjectการควบคุมความสูญเปล่าen
dc.titleการจัดเรียงสายป้อนในระบบจำหน่ายเพื่อลดพลังงานไฟฟ้าสูญเสียโดยอาศัยขั้นตอนวิธีพันธุกรรมen
dc.title.alternativeDistribution feeder reconfiguration for loss reduction using a genetic algorithmen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorkulyos.a@eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1177-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supasit_sr.pdf1.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.