Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31496
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงเดือน อ่อนน่วม
dc.contributor.authorอาภาภรณ์ หวัดสูงเนิน
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-05-28T11:32:25Z
dc.date.available2013-05-28T11:32:25Z
dc.date.issued2536
dc.identifier.isbn9745834629
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31496
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่องเศษส่วนและร้อยละ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ทั้งโดยส่วนรวมจำแนกตามระดับความสามารถทางการเรียน และ จำแนกตามเพศของนักเรียน ผลการวิจัยพบว่า 1.นักเรียนที่เรียนโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ตามวิธีเรียนแบบร่วมมือมีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่เรียนตามวิธีเรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 2.นักเรียนที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงที่เรียนโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ตามวิธีเรียนแบบร่วมมือและที่เรียนตามวิธีเรียนแบบปกติ มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ไม่แตกต่างกัน 3. นักเรียนที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปานกลางที่เรียนโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ตามวิธีเรียนแบบร่วมมือ มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่เรียนตามวิธีเรียนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 4. นักเรียนที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำที่เรียนโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ตามวิธีเรียนแบบร่วมมือและที่เรียนตามวิธีแบบปกติ มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ไม่แตกต่างกัน 5. นักเรียนชายที่เรียนโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ตามวิธีเรียนแบบร่วมมือและที่เรียนตามวิธีเรียนแบบปกติ มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ไม่แตกต่างกัน 6. นักเรียนหญิงที่เรียนโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ตามวิธีเรียนแบบร่วมมือ มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่เรียนตามวิธีเรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่องเศษส่วนและร้อยละ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ทั้งโดยส่วนรวมจำแนกตามระดับความสามารถทางการเรียน และ จำแนกตามเพศของนักเรียน ผลการวิจัยพบว่า 1.นักเรียนที่เรียนโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ตามวิธีเรียนแบบร่วมมือมีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่เรียนตามวิธีเรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 2.นักเรียนที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงที่เรียนโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ตามวิธีเรียนแบบร่วมมือและที่เรียนตามวิธีเรียนแบบปกติ มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ไม่แตกต่างกัน 3. นักเรียนที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปานกลางที่เรียนโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ตามวิธีเรียนแบบร่วมมือ มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่เรียนตามวิธีเรียนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 4. นักเรียนที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำที่เรียนโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ตามวิธีเรียนแบบร่วมมือและที่เรียนตามวิธีแบบปกติ มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ไม่แตกต่างกัน 5. นักเรียนชายที่เรียนโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ตามวิธีเรียนแบบร่วมมือและที่เรียนตามวิธีเรียนแบบปกติ มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ไม่แตกต่างกัน 6. นักเรียนหญิงที่เรียนโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ตามวิธีเรียนแบบร่วมมือ มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่เรียนตามวิธีเรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate the effects of cooperative learning on Prathom Suksa five students’ ability to solve fraction and percentage problems. Subjects were classified by their learning achievement and sex. The findings were as follows: 1.There was significant difference at .05 level between students learning through cooperative learning approach and contemporary approach. 2. There was no significant difference between students with high learning achievement learning through cooperative learning approach and contemporary approach. 3. There was significant difference at .05 level between students with moderate learning achievement learning through cooperative approach and contemporary approach. 4. There was no significant difference between students with low learning achievement learning through cooperative learning approach and contemporary approach. 5. There was no significant difference between boys learning through cooperative approach and contemporary approach. 6. There was significant difference at .05 level between girls learning through cooperative approach and contemporary approach.
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate the effects of cooperative learning on Prathom Suksa five students’ ability to solve fraction and percentage problems. Subjects were classified by their learning achievement and sex. The findings were as follows: 1.There was significant difference at .05 level between students learning through cooperative learning approach and contemporary approach. 2. There was no significant difference between students with high learning achievement learning through cooperative learning approach and contemporary approach. 3. There was significant difference at .05 level between students with moderate learning achievement learning through cooperative approach and contemporary approach. 4. There was no significant difference between students with low learning achievement learning through cooperative learning approach and contemporary approach. 5. There was no significant difference between boys learning through cooperative approach and contemporary approach. 6. There was significant difference at .05 level between girls learning through cooperative approach and contemporary approach.
dc.format.extent4423109 bytes
dc.format.extent5873254 bytes
dc.format.extent26023987 bytes
dc.format.extent7083290 bytes
dc.format.extent1975160 bytes
dc.format.extent8391393 bytes
dc.format.extent116238368 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อความสามารถ ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5en
dc.title.alternativeEffects of coopertive learning on mathematical problem solving ability of Prathom Suksa Five studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประถมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Arpaporn_wa_front.pdf4.32 MBAdobe PDFView/Open
Arpaporn_wa_ch1.pdf5.74 MBAdobe PDFView/Open
Arpaporn_wa_ch2.pdf25.41 MBAdobe PDFView/Open
Arpaporn_wa_ch3.pdf6.92 MBAdobe PDFView/Open
Arpaporn_wa_ch4.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open
Arpaporn_wa_ch5.pdf8.19 MBAdobe PDFView/Open
Arpaporn_wa_back.pdf113.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.