Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31595
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสงัด อุทรานันท์-
dc.contributor.advisorทิศนา แขมมณี-
dc.contributor.authorเพิ่มเกียรติ ขมวัฒนา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-05-29T08:55:03Z-
dc.date.available2013-05-29T08:55:03Z-
dc.date.issued2532-
dc.identifier.isbn9745761451-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31595-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาหลักสูตรการเขียนโปรแกรมภาษาโลโกสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แนวคิดและฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ตลอดจนทดสอบวิธีสอนที่เหมาะสมกับหลักสูตร โดยเลือกวิธีสอน 3 วิธี คือ วิธีสอนแบบนิรภัย อุปนัย และแบบผสม การวิจัยเริ่มจากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร แล้วนำมาออกแบบหลักสูตรการเขียนโปรแกรมภาษาโลโก เพื่อการเรียนรู้แนวคิดและฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา ซึ่งประกอบด้วย หลักการและเหตุผล จุดมุ่งหมายของหลักสูตร เนื้อหาสาระของหลักสูตร ข้อเสนอแนะในการนำหลักสูตรไปใช้และการประเมินผลหลักสูตร และในส่วนเนื้อหาสาระของหลักสูตรประกอบด้วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมภาษาโลโก การประยุกต์การเขียนโปรแกรมภาษาโลโกในการคิดคำนวณ การสร้างรูปเรขาคณิตและการสร้างสรรค์ภาพด้วยรูปเรขาคณิต จากการทดลองใช้หลักสูตรเพื่อประเมินคุณภาพพบว่าหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือหลังการเรียนตามหลักสูตร นักเรียนมีคะแนนเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์และคะแนนแนวคิดทางคณิตศาสตร์สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สำหรับผลการใช้หลักสูตร นักเรียนมากกว่า 70% มีความพอใจ เห็นประโยชน์และเห็นว่าหลักสูตรไม่ยากหรือง่ายเกินไป ส่วนผลการทดลองสอนด้วยวิธีสอน 3 วิธี กับนักเรียนที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ต่างกัน ปรากฏว่า วิธีสอน และระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ไม่มีผลต่อคะแนน เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์และคะแนนแนวคิดทางคณิตศาสตร์-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were 1) to develop logo, a computer program, for elementary students to enhance their mathematical concepts and skills and 2) to find out what teaching method applicable to the designed curriculum. The three chosen methods were deductive, inductive and mixed. The study was conducted by researching into needs assessment which was essential to curriculum development. Then logo curriculum had been developed to enhance elementary students’ mathematical concepts and skills. The composition of the curriculum was background and policy, curriculum objective, curriculum content, curriculum implementation and curriculum evaluation. The content of the curriculum comprised of introduction to microcomputers, logo program design, application of logo to calculation, geometric designs and drawing made by geometric designs. After being explored, it was found that the quality of the developed curriculum met the specified criteria. The students’ attitude points towards mathematics and its concepts points was higher than before the curriculum was introduced with statistical significant level at .01. And more than 70% of the students found the curriculum satisfactory, useful and corresponding to their capacity. As for the three methods, they were used to teach students with different mathematical achievement level and the results obtained indicates that the methods and mathematical achievement level did not affect indicates that the methods and mathematical achievement level did not affect points given on attitude towards mathematics and its concepts.-
dc.format.extent992946 bytes-
dc.format.extent1492278 bytes-
dc.format.extent5063159 bytes-
dc.format.extent1344412 bytes-
dc.format.extent2606770 bytes-
dc.format.extent2874764 bytes-
dc.format.extent14523814 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการพัฒนาหลักสูตรการเขียนโปรแกรมภาษาโลโก เพื่อการเรียนรู้แนวคิดและฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาen
dc.title.alternativeLogo curriculum development for enhancing elementary school students' mathematical concepts and skillsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineหลักสูตรและการสอนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Permkiet_kh_front.pdf969.67 kBAdobe PDFView/Open
Permkiet_kh_ch1.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open
Permkiet_kh_ch2.pdf4.94 MBAdobe PDFView/Open
Permkiet_kh_ch3.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open
Permkiet_kh_ch4.pdf2.55 MBAdobe PDFView/Open
Permkiet_kh_ch5.pdf2.81 MBAdobe PDFView/Open
Permkiet_kh_back.pdf14.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.