Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31614
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทิศนา แขมณี | |
dc.contributor.advisor | สุวิมล ว่องวานิช | |
dc.contributor.author | อรุณี สำเภาทอง | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-05-29T09:48:42Z | |
dc.date.available | 2013-05-29T09:48:42Z | |
dc.date.issued | 2538 | |
dc.identifier.isbn | 9746324683 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31614 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการฝึกอบรมแบบเน้นการสอนแนะ และศึกษาผลของการใช้กระบวนการฝึกอบรมแบบเน้นการสอนแนะ 2 รูปแบบที่มีต่อการพัฒนาความรู้ความเข้าใจความคงทนในด้านความรู้ ความเข้า ใจ เจตคติ และทักษะในเรื่องที่ฝึกอบรมและพัฒนาการทางด้านทักษะในเรื่องที่ฝึกอบรม ผลการวิจัยได้ข้อค้นพบดังนี้ 1. กระบวนการฝึกอบรมแบบเน้นการสอนแนะ ที่พัฒนาขึ้นมีองค์ประกอบดังนี้ 1.1 หลักการ 1.2 จุดประสงค์ของกระบวนการฝึกอบรม 1.3 ลำดับขั้นตอนของกระบวนการฝึกอบรม ประกอบด้วย 1) ขั้นวิเคราะห์ความต้องการและความจำเป็นในการฝึกอบรม 2) ขั้นกำหนดเป้า หมายของการฝึกอบรม 3) ขั้นสร้างหลักสูตรฝึกอบรม 4) ขั้นดำเนินการฝึก อบรมในห้องอบรม 5) ขั้นดำเนินการฝึกอบรมในสถานการณ์จริง 6) ขั้นประเมินผลการฝึกอบรม 2. ผลของการใช้กระบวนการฝึกอบรมแบบเน้นการสอนแนะที่สำคัญ ๆ มีดังนี้ 2.1 เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของความรู้ความเข้าใจเรื่องที่ฝึกอบรมระหว่างก่อนการฝึกอบรมกับหลังการฝึกอบรมในสถานการณ์จริง พบว่ากลุ่ม ตัวอย่างที่ได้รับการสอนแนะมีค่าเฉลี่ยของคะแนนสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการสอนแนะ 2.2 กลุ่มที่ได้รับการสอนแนะสามารถคงด้านความรู้ ความเข้าใจ เจตคติ และทักษะในเรื่องที่ได้รับการอบรมภายหลังการอบรมในสถานการณ์จริง แตกต่างจากกลุ่มที่ไม่ได้รับการสอนแนะซึ่งลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2.3 หลังการฝึกอบรมในสถานการณ์จริงกลุ่มที่ได้รับการสอนแนะโดยรูปแบบที่ครูเข้ารับการฝึกอบรมเรื่องเดียวกันจับคู่กันสอนแนะมีพัฒนาการ ทางด้านทักษะการสอนสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนแนะรูปแบบที่ครูที่เข้ารับการอบรมจับคู่กับครูที่ไม่ได้รับการอบรม | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were: (1) to develop the coaching training process, (2) to study the results of using the two patterns of coaching training process on teachers development in (2.1) knowledge and understanding, (2.2) the retention of knowledge and understanding, attitude and skills and (2.3) the teaching skills. Major findings : 1. the major components of the training process were as follows : (1) principles (2) objectives (3) training procedure : (a) conducting need assessment (b)specifying training objectives (c) developing training curriculum (d) conducting training in the training room (e) conducting training in the real situation (f) evaluating the training program. 2. The results from implementing the training process were as follows: (1) Teachers trained by coaching process had higher achievement scores than those who did not receive such training. (2) Four months after being trained in the training room, teachers who further received training in real situation were able to retend their possessed knowledge, attitude and teaching skills unlike those who did not receive further training in real situation, their knowledge, attitude and teaching skills decreased significantly. (3) After being trained with coaching process in real situation, teachers who paired with those having the same training developed better teaching skills than those paired with others who did not have the same training. | |
dc.format.extent | 6879431 bytes | |
dc.format.extent | 7153100 bytes | |
dc.format.extent | 43018520 bytes | |
dc.format.extent | 21381943 bytes | |
dc.format.extent | 25180127 bytes | |
dc.format.extent | 13792232 bytes | |
dc.format.extent | 79812874 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การเสริมสร้างสมรรถภาพการสอนของครูประถมศึกษา โดยการใช้กระบวนการฝึกอบรมแบบเน้นการสอนแนะ | en |
dc.title.alternative | The enhancement of teaching competencies of elementary school teachers by using coaching-training process | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | es |
dc.degree.discipline | หลักสูตรและการสอน | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Arunee_sum_front.pdf | 6.72 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arunee_sum_ch1.pdf | 6.99 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arunee_sum_ch2.pdf | 42.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arunee_sum_ch3.pdf | 20.88 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arunee_sum_ch4.pdf | 24.59 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arunee_sum_ch5.pdf | 13.47 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arunee_sum_back.pdf | 77.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.