Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32133
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจันทนา จันทโร-
dc.contributor.advisorไชยะ แช่มช้อย-
dc.contributor.authorพัชรมาศ นุ่มดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-06-11T02:01:51Z-
dc.date.available2013-06-11T02:01:51Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32133-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้พลังงานตามแนวทาง การจัดการพลังงานของโรงงานควบคุมในกลุ่มอุตสาหกรรม 4 กลุ่ม ได้แก่ อุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องดื่ม (TSIC 31) อุตสาหกรรมสิ่งทอ (TSIC 32) อุตสาหกรรมกระดาษ (TSIC 34) และ อุตสาหกรรมเคมี (TSIC 35) โดย(1.)ศึกษาความสัมพันธ์ของการผลิตและการใช้ พลังงาน 3 ประเภท ได้แก่ พลังงานไฟฟ้ า พลังงานเชือ้ เพลิง และพลังงานรวมทัง้ หมด (2.)วิเคราะห์หาสมการเชิงเส้นแบบง่ายแสดงความสัมพันธ์ของการใช้พลังงานและปริมาณ การผลิตในแต่ละอุตสาหกรรม สำหรับโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการผลิตผลิตภัณฑ์เดียว (single Product) และสมการเชิงเส้นแบบพหุสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการผลิตหลาย ผลิตภัณฑ์ (multiple product) (3.) วิเคราะห์ค่าการใช้พลังงานจำเพาะ (SEC) และตรวจ ติดตามการใช้พลังงาน โดยประยุกต์ใช้หลักการทางสถิติ คือ กราฟ CUSUM ซึ่งแสดงให้เห็น ช่วงที่มีการใช้พลังงานผิดปกติในกระบวนการผลิต และใช้ก าหนดเป้ าหมายการใช้พลังงานที่ เหมาะสม ผลที่ได้รับจากงานวิจัยนี ้คือ ได้สมการตัวแทนการใช้พลังงานและค่า SEC ของ แต่ละโรงงานอุตสาหกรรม รวมถึงการประยุกต์ใช้กราฟ CUSUM ที่สร้ างจากสมการตัวแทน ของโรงงานและคัดเลือกช่วงที่มีพฤติกรรมการใช้พลังงานต ่ากว่าที่คาดการณ์ไว้จ านวนทัง้ สิน้ 6 เดือน (ค่าผลต่างเป็ นลบ) เพื่อก าหนดเป็ นระดับเป้ าหมายการใช้พลังงานส าหรับแต่ละ โรงงาน อีกทัง้ ทราบถึงประสิทธิภาพการใช้พลังงานในแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีลักษณะ การผลิตใกล้เคียงกัน นอกจากนีจ้ ากกราฟ CUSUM แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมการใช้ พลังงาน ซึ่งเป็ นประโยชน์ในการตรวจติดตามการใช้พลังงานและสามารถใช้เป็ นแนวทางใน การจัดการพลังงานให้มีประสิทธิภาพต่อไปen
dc.description.abstractalternativeThis research aims to analyze the energy efficiency of the designated factory in 4 industries; food and beverages industry (TSIC 31), textile industry (TSIC 32), paper industry (TSIC 34) and chemical industry (TSIC 35), according to the energy management. The first, the relation between energy consumption and productivity of each industry is explained by a simple linear regression or a multiple regression. The second, analyzing the specific energy consumption (SEC) of each sub-industry is calculated by a proportion of the total energy consumption (electricity and fuel) and the total productivity in the same period and predict the regression for predicted the SEC of each factory. The third, monitoring of energy consumption applies the statistic, which is cumulative sum control (CUSUM) chart, showed a time of unusual energy consumption in the process. The results of this research are the energy model and the SEC of each designated factory. Moreover, the CUSUM chart, based on the representative equation and selected 6 months that have the behavior lower than anticipated (negative differential), use to define target levels of energy consumption of each factory. In addition, the CUSUM chart showed the energy consumption behavior that can be approached to improve the efficiency of energy management.en
dc.format.extent24244964 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1361-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรงงาน -- การใช้พลังงานen
dc.subjectโรงงาน -- การอนุรักษ์พลังงานen
dc.subjectพลังงานไฟฟ้า -- การอนุรักษ์en
dc.subjectการใช้พลังงานไฟฟ้าen
dc.subjectFactories -- Energy consumptionen
dc.subjectFactories -- Energy conservationen
dc.subjectElectric power -- Conservationen
dc.subjectElectric power consumptionen
dc.titleการศึกษาประสิทธิภาพการใช้พลังงานของโรงงานควบคุม : TSIC 31, 32, 34, และ 35en
dc.title.alternativeEnergy efficiency study of the designated factories : TSIC 31, 32 34 and 35en
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChantana.J@Chula.ac.th-
dc.email.advisorChaiya.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1361-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Patcharamart_nu.pdf23.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.