Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32290
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตวีร์ คล้ายสังข์-
dc.contributor.advisorใจทิพย์ ณ สงขลา-
dc.contributor.authorโอภาส เกาไศยาภรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-06-19T02:45:56Z-
dc.date.available2013-06-19T02:45:56Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32290-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนสําหรับห้องเรียนพหุวัฒนธรรมเพื่อการสร้างความรู้และความตระหนักในคุณค่าทางวัฒนธรรม สําหรับนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและศึกษาผลการใช้รูปแบบ กลุ่มตัวอย่างสำหรับการวิจัยในครั้งนี้ประกอบด้วยผู้บริหารและอาจารย์ที่สอนในระดับอุดมศึกษา ทั้งสิ้น 153 คน และนิสิตนักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จำนวน 21 คน โดยผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบของรูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนสําหรับห้องเรียนพหุวัฒนธรรมเพื่อการสร้างความรู้และความตระหนักในคุณค่าทางวัฒนธรรม สําหรับนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 11 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนบนเครือข่ายสังคมพหุวัฒนธรรม 2) กระบวนการในการสร้างความรู้และการติดตามพฤติกรรมของผู้เรียน 3) ฐานการช่วยเหลือผู้เรียนในการเรียนบนเครือข่ายสังคมเชิงเสมือน 4) การเสริมสร้าง/การจัดการเครือข่ายบนเครือข่ายสังคมเชิงเสมือน 5) ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความตระหนักในคุณค่าทางวัฒนธรรม 6) ระบบการบริหารและการจัดการบนเครือข่ายสังคมเชิงเสมือน 7) การเสริมแรงในด้านพฤติกรรมของผู้เรียน 8) การมีปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียนบนเครือข่ายสังคมเชิงเสมือน 9) การยอมรับและการอยู่ร่วมกันของผู้เรียนในสังคมพหุวัฒนธรรมบนเครือข่ายสังคมเชิงเสมือน 10) เครื่องมือที่ใช้สำหรับการสะท้อนความรู้ของผู้เรียน และ 11) เครื่องมือที่ใช้สำหรับการติดต่อสื่อสารบนสังคมเชิงเสมือน 2. รูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนฯ ที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นตอนด้านการเตรียมความพร้อมของห้องเรียนบนเครือข่ายสังคมเชิงเสมือน 2) ขั้นตอนด้านการสร้างความคุ้นเคย 3) ขั้นตอนด้านการสร้างความรู้ ปรับสมดุลความคิดและการตระหนักรู้ 4) ขั้นตอนด้านการวัดและการประเมินผล โดยมีองค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1) บุคคล (ผู้สอน ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เรียน) 2) สื่อการเรียนการสอน (สื่อการเรียนการสอนสำหรับให้ผู้เรียนเรียนรู้เนื้อหาในรายวิชาและสื่อการสอนเกี่ยวกับวัฒนธรรม) 3) ห้องเรียน (ห้องเรียนแบบปกติและห้องเรียนแบบออนไลน์) 3. กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการสร้างความรู้และคะแนนเฉลี่ยความตระหนักในคุณค่าวัฒนธรรมหลังการทดลอง สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to develop a virtual network model for multicultural classrooms to enhance knowledge construction and cultural awareness for graduate students and to study the result for using model of a virtual network for multicultural classrooms to enhance knowledge construction and cultural awareness for graduate students. The sample consisted of 153 administrators and instructors who teach in higher education and 21 graduate students who major in Educational Technology and Communications, Faculty of Education, Chulalongkorn University and Prince of Songkla University. The research results were divided into two stages as follows: 1. A virtual network model for multicultural classrooms to enhance knowledge construction and cultural awareness for graduate students factors consisted of eleven factors: 1) Design of learning activities on a virtual network for multicultural classrooms, 2) Process of knowledge construction, 3) Scaffolding on virtual network for multicultural classrooms, 4) Support and management of virtual network for multicultural classrooms, 5) Factors causing of cultural awareness, 6) Administration and management system on virtual network for multicultural classrooms, 7) Reinforcement in student’s behavior, 8) Interaction of students on virtual network for multicultural classrooms, 9) Students’ adoptation of cultural awareness on virtual network for multicultural classrooms, 10) Reflective tools, and 11) Communications tools. 2. The developed model consisted of four steps: 1) Preparing of a virtual network classroom, 2) Building up congeniality, 3) Adjusting equilibration and awareness for knowledge construction, and 4) Evaluating Learning results. The developed model consisted of three components : 1) people (Instructor, expert , and learner) , 2) Instructional media (inhancing culture awareness inhancing knowledge construction), and 3) Classroom Setting (traditional and online classrooms) 3. There were significant differences between pretest and posttest of knowledge construction scores and cultural awareness scores at the .05 level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.343-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บen_US
dc.subjectการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมen_US
dc.subjectการสังสรรค์ทางวัฒนธรรมen_US
dc.subjectเครือข่ายสังคมen_US
dc.subjectWeb-based instructionen_US
dc.subjectAcculturationen_US
dc.subjectSocial networksen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนสำหรับห้องเรียนพหุวัฒนธรรมเพื่อการสร้างความรู้และความตระหนักในคุณค่าทางวัฒนธรรมสำหรับนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาen_US
dc.title.alternativeDevelopment of a virtual network model for multicultural classrooms to enhance knowledge construction and cultural awareness for graduate studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorjinmonsakul@gmail.com-
dc.email.advisorJaitip.N@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.343-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ophat_ka.pdf3.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.