Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32332
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลธิดา โรจน์วิบูลย์ชัย-
dc.contributor.authorประทีป พัตราภรณ์พิศุทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-06-20T03:26:01Z-
dc.date.available2013-06-20T03:26:01Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32332-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractการส่งข้อมูลไลฟ์สตรีมมิ่งแบบเพียร์ทูเพียร์โดยวิธีการแบบผลักและดึงกำลังได้รับความนิยมมากในปัจจุบันเพราะสามารถรองรับการขยายตัวของระบบการทำงานและการมีเวลาแฝง งานวิจัยส่วนใหญ่มุ่งเน้นที่อัตราการแพร่กระจายข้อมูลที่ดีและมีความหน่วงของระบบที่ต่ำ โดยใช้การกระจายข้อมูลแบบผลักร่วมกับระบบการดึง แต่กระบวนการทำงานเหล่านี้ต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลแผนที่บัฟเฟอร์ของเพื่อนบ้าน เพื่อที่จะสามารถตัดสินใจผลักชิ้นข้อมูลให้เพื่อนบ้านและร้องขอชิ้นข้อมูลจากเพื่อนบ้าน ดังนั้นค่าใช้จ่ายในการควบคุมการทำงานที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเหล่านี้จึงอยู่ในสัดส่วนที่สูงเพื่อที่จะรักษาความทันสมัยของข้อมูลแผนที่บัฟเฟอร์ของเพื่อนบ้าน ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้เสนอขั้นตอนวิธีการคาดเดาแผนที่บัฟเฟอร์ของเพื่อนบ้านในระบบการทำงานแพร่กระจายข้อมูลแบบผลักและดึงบนโครงสร้างแบบตาข่าย เพียร์ที่อยู่ในระบบที่เสนอนั้นไม่จำเป็นต้องมีการแลกเปลี่ยนแผนที่บัฟเฟอร์ ขั้นตอนวิธีที่นำเสนอมีการจำลองการทำงานและวิเคราะห์ผลการทดลองโดยใช้ NS-2 ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ใกล้เคียงของจริง จากการทดลองพบว่าสามารถลดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการควบคุมการทำงานได้มาก อีกทั้งยังสามารถลดอัตราการส่งข้อมูลที่ซ้ำซ้อนกันได้ดีen_US
dc.description.abstractalternativeCurrently, push-pull approaches for peer-to-peer live streaming systems are interested by researchers due to high scalability and low latency. Those researchers focus on optimal data rate and delay for push-pull approaches. Nevertheless, those approaches depend on buffer-map information from all neighbors to determine which pieces to push to which neighbors or pull missed pieces from which neighbors. Therefore, control overhead is high because all neighbors need to frequently exchange their buffer-maps for up-to-date information. This thesis proposes an algorithm to predict the buffer-maps of neighbors. The proposed algorithm uses the push-pull approach for data dissemination on mesh overlays. Peers in this algorithm do not necessarily exchange their buffer-maps. The proposed algorithm is implemented and evaluated on the ns-2 simulator which can simulate almost real situation and environment. In conclusion, this algorithm significantly reduces control overhead and also reduces duplicate data at the same time.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.358-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเทคโนโลยีสตรีมมิง (โทรคมนาคม)en_US
dc.subjectสถาปัตยกรรมแบบเพียร์ทูเพียร์ (เครือข่ายคอมพิวเตอร์)en_US
dc.subjectStreaming technology (Telecommunications)en_US
dc.subjectPeer-to-peer architecture (Computer networks)en_US
dc.titleขั้นตอนวิธีการคาดเดาแผนที่บัฟเฟอร์โดยวิธีการแบบผลักและการดึงสำหรับการส่งข้อมูลไลฟ์สตรีมมิ่งแบบเพียร์ทูเพียร์en_US
dc.title.alternativeA push-pull with a buffer-map prediction [algorithm] for peer to peer live streamingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKultida.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.358-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
prateep_ pu.pdf2.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.