Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32531
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสริชย์ โชติพานิช-
dc.contributor.authorวิรุจน์ สมโสภณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-06-26T14:32:56Z-
dc.date.available2013-06-26T14:32:56Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32531-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractเรื่องหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการบริหารทรัพยากรกายภาพ (Facility Management) ให้ความสำคัญมากคือ เรื่องการวัดหรือประเมินประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน รวมถึง การทำ Benchmarking หรือการเปรียบเทียบและเรียนรู้ผลการปฏิบัติงาน FM ระหว่างกัน โดยสิ่งหนึ่งที่เป็นหัวใจในการวัดผลฯ คือ ตัวชี้วัด ซึ่งการวัดผลฯ จะต้องใช้ตัวชี้วัดเฉพาะ และตัวชี้วัดดังกล่าวจะต้องสอดคล้องกับลักษณะ ข้อจำกัดและบริบทในการปฏิบัติงาน FM ของประเทศนั้นๆ ซึ่งในประเทศไทยยังไม่เคยปรากฏว่ามีการกำหนดตัวชี้วัดสำหรับงาน FM แบบเฉพาะหรือเป็นมาตรฐานขึ้นมา การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดสำหรับงาน FM และศึกษาแนวทางการวัดผลการปฏิบัติงาน FM ที่เหมาะสมในประเทศไทย รวมถึงเสนอแนะแนวทางการทำ Benchmarking ผลการปฏิบัติงาน FM ด้วย เนื่องจากเรื่องนี้เป็นเรื่องใหม่ในประเทศไทย การศึกษานี้จึงใช้เทคนิคเดลฟายโดยใช้การสัมภาษณ์และแบบสอบถามกับกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 9 ท่าน จำนวน 3 รอบ จากการศึกษาพบว่าตัวชี้วัดที่ควรใช้ในการวัดผลการปฏิบัติงาน FM มี 56 ตัว และหัวเรื่องที่ควรใช้ในการทำ Benchmarking ผลการปฏิบัติงาน FM มี 48 เรื่อง ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 7 กลุ่ม ได้แก่ Cost Performance, Customer Satisfaction, Operating/Service Performance, Space Management Performance, Environment Health & Safety (EHS) Performance, Energy Consumption Performance และ Facility Performance ซึ่งผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่เห็นด้วยกับผลการศึกษาและเห็นว่าตัวชี้วัดและหัวเรื่องที่ได้จากการศึกษานี้สามารถนำไปใช้ในทางปฏิบัติได้ การศึกษานี้สรุปว่า ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน FM และหัวเรื่องที่ใช้ในการเปรียบเทียบผลฯที่ผู้ปฏิบัติงานเห็นว่าสำคัญ คือ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ และปริมาณการใช้ไฟฟ้า ต่อ ตรม. การศึกษานี้มีข้อเสนอแนะว่า การวัดผลการปฏิบัติงาน FM ควรจะมีตัวชี้วัดเฉพาะ และจากการศึกษาได้เสนอตัวชี้วัด 56 ตัวใน 7 กลุ่มที่จะสามารถนำไปใช้เพื่อเป็นแนวทางในการวัดผลการปฏิบัติงาน FM ที่เหมาะสมในประเทศไทยได้ สำหรับการทำ Benchmarking ผลการปฏิบัติงาน FM หัวเรื่องที่จะนำมาใช้ควรจะเป็นเรื่องที่ใช้วัดผลการปฏิบัติงานภายในองค์กรก่อน และควรมีการกำหนดเกณฑ์หรือตั้งข้อตกลงร่วมกันก่อนทำการเปรียบเทียบผลฯ รวมถึงควรจับคู่องค์กรที่มีพื้นฐานในด้านต่างๆที่ใกล้เคียงกันen_US
dc.description.abstractalternativePerformance measurement is an important issue in Facility Management (FM) practice. FM practitioners need to measure their work or service performance to show the contributions of FM to the core business and gain recognition from business management. By comparing the results of performance measurement and learning from the best – Benchmarking, FM practices in any given organization can be improved towards best/good practices. However, there have yet to be standard or established FM performance metrics for the practice in Thailand and adopting metrics from other countries may not fit the need and context. So the study proposes an approach and a set of metrics for FM performance measurement and issues for FM benchmarking for the practice in Thailand. The Delphi method is used in the study to gather opinions from 9 experts from different organizations and business sectors for identified metrics for FM performance measurement and issues for FM benchmarking. Experts identify 56 metrics for FM performance measurement and 48 issues for FM benchmarking in 7 categories: Cost Performance, Customer Satisfaction, Operating/Service Performance, Space Management Performance, Environment Health & Safety (EHS) Performance, Energy Performance and Facility Performance. Mostly, experts seem to approve and agree with the results. It is concluded that the most importance metrics for FM performance measurement and issues for FM benchmarking for the practice in Thailand are customer satisfaction with FM services and electricity consumption per sq.m. The study suggests that FM performance measurement should have specific metrics and 56 metrics in 7 categories from the study can be used as the guidelines of standard metrics for every company in Thailand. In FM benchmarking, every issue should be used internally first. Every company should set and share their criteria and agreement and should take a company that has the same characteristic as a partner for FM benchmarking.en_US
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.129-
dc.subjectการจัดการสิ่งอำนวยความสะดวก -- การประเมินen_US
dc.subjectการจัดการสิ่งอำนวยความสะดวก -- การควบคุมคุณภาพen_US
dc.subjectการประเมินผลงานen_US
dc.subjectการควบคุมคุณภาพen_US
dc.subjectการเปรียบเทียบจุดเด่น (การจัดการ)en_US
dc.subjectFacility management -- Evaluationen_US
dc.subjectFacility management -- Quality controlen_US
dc.subjectQuality controlen_US
dc.subjectBenchmarking (Management)en_US
dc.subjectJob evaluationen_US
dc.titleแนวทางการวัดผลการปฏิบัติงานการบริหารทรัพยากรกายภาพen_US
dc.title.alternativePerformance measurement for facility management practice in Thailanden_US
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSarich.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.129-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wiruj_So.pdf14.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.